Page 680 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 680
๕.๒.๑ ด่านจอมคีรี หรือ ด่านชายเขาใต ้
ด่านจอมคีรี หรือด่านชายเขาใต้ ตั้งอยู่ในบริเวณเชิงเขาหรือเชิงม่อนจอมคีรี ซึ่งเป็นม่อนดอย
ขนาดเล็ก คันดินสามชั้นที่ปรากฏพบหันไปทางด้านเขาพลึงที่ติดกับทุ่ง หรือพื้นที่ราบและแม่น้ำห้วยแม่ชายเขา
ั
ในบริเวณดังกล่าวพบเศษภาชนะเครื่องปั้นดินเผา ชนิดไม่เคลือบ(Stoneware) ร่วมยุคสุโขทย
ั้
ั
แต่พบจำนวนไม่มากนัก นายธีรศักดิ์ ธนูศิลป์ นักโบราณคดีชำนาญการ กองโบราณคดี กรมศิลปากร ตงข้อสงเกต
ี่
ึ
ว่า พื้นที่บริเวณคันดินสามชั้นนี้ เป็นบริเวณที่พบการอยู่อาศัยชั่วคราว ประกอบกับคันดินสามชั้นทปรากฏ จงอาจ
เป็นด่านป้อมฯของเมืองที่มีภูมิประเทศเป็นภูเขา แต่ไม่ใช่ลักษณะของกำแพงเมือง
จากคำสัมภาษณ์ของนายกาด บุญอินเขียว อาย ๗๒ ปี เจ้าของที่ดินที่ปรากฏพบดานคนดนสาม
ิ
ั
ุ
่
ิ
ี่
ชั้นนี้ ให้ข้อมูลว่า แต่เดิมคันดินสามชั้นนี้มีความยาวตั้งแต่เชิงเขาบริเวณโรงเจเจ้าแม่กวนอิมด้านทตดกับแม่น้ำห้วย
ี่
แม่ชายเขา (ปัจจุบันโรงเจตั้งอยู่บนพื้นทคันดินสามชั้นบางส่วน) อ้อมยาวข้ามถนนมาจนถึงบริเวณป้ายวัด มีความ
ยาวราวสามร้อยกว่าเมตรได้ ตั้งแต่ตนเองเป็นเด็กเริ่มจำความได้รวมถึงได้สอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ในพื้นที่ ก็ล้วนให้
้
้
ข้อมูลว่ามีมานานมากแล้ว และในสมัยสงครามโลกครั้งทสองยังเคยมีการใชคันดินสามชั้นนี้เพื่อการหลบภัยอีกดวย
ี่
บริเวณยอดดอยม่อนจอมคีรีนี้ ปัจจุบันเป็นที่ตงของวัดจอมคีรีหรือวัดชายเขาใต้ (พระธาตุศรีสองเมือง) พบเส้นทาง
ั้
้
ที่เชื่อมต่อไปยังเมืองลับแลซึ่งมีมาแต่ครั้งอดีต ซึ่งถือได้ว่าเป็นเส้นทางที่สั้นที่สดที่จะเข้าสู่เมืองลบแล โดยเสนทางนี้
ั
ุ
จะนำไปสู่พื้นที่แอ่งเมืองลับแลบริเวณ ม่อนเชียงใหม่ ที่มี หนองไผ่ หรือหนองน้ำขนาดใหญ่อยู่บริเวณเชิงเขา และ
หนองนาเกลือ ที่อยู่ไม่ไกลกัน พื้นที่นี้ต่อเนื่องไปกับท้องทุ่งนา(ทุ่งนาหนอง)ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำของเมืองลับแล
้
้
สันนิษฐานว่าเส้นทางนี้น่าจะเป็นเส้นทางที่ใช้เฉพาะชาวเมืองลบแลในการเขาออกเมือง ส่วนคนต่างเมืองน่าจะตอง
ั
ผ่านด่านคีรีสีล(ด่านนานกกก)
ด่านของเมืองลับแล
หน้า ๔๓