Page 14 - โครงการ คอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา
P. 14

4


                  ทำงานมีขวัญและมีกำลังใจ มีความผูกพนกับหน่วยงาน มีความภาคภูมิใจ ในความสำเร็จของงานที่ทำ
                                                     ั
                  และสิ่งเหล่านี้จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงาน ส่งผลต่อถึงความก้าวหน้า

                  และความสำเร็จขององค์การอีกด้วย

                         วิรุฬ (2542) กล่าวว่า ความพงพอใจเป็นความรู้สึกภายในจิตใจของมนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน
                                                     ึ
                  ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลว่าจะมีความคาดหมายกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและ

                                                    ึ
                  ได้รับการตอบสนองด้วยดีจะมีความพงพอใจมากแต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พงพอใจ
                                                                                                     ึ
                  เป็นอย่างยิ่ง เมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตั้งใจไว้ว่าจะมีมาก

                                   ั
                  หรือน้อยสอดคล้องกน
                         ฉัตรชัย (2535) กล่าวว่า ความพงพอใจ หมายถึงความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อ
                                                       ึ
                  สิ่งหนึ่งหรือปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวข้อง ความรู้สึกพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการของบุคคล

                  ได้รับการตอบสนองหรือบรรลุจุดมุ่งหมายในระดับหนึ่ง ความรู้สึกดังกล่าวจะลดลงหรือไม่เกิดขึ้น

                  หากความต้องการหรือจุดมุ่งหมายนั้นไม่ได้รับการตอบสนอง

                  ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)

                                ั
                         อบราฮม มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวิธีที่จะอธิบายว่าทำไมคนจึงถูกผลักดันโดย
                          ั
                  ความต้องการบางอย่าง ณ เวลาหนึ่งทำไมคนหนึ่งจึงทุ่มเทเวลาและพลังงานอย่างมากเพอให้ได้มา
                                                                                                  ื่
                                               ี
                                                                                                         ื่
                                                                           ื่
                  ซึ่งความปลอดภัยของตนเองแต่อกคนหนึ่งกลับทำสิ่งเหล่านั้น เพอให้ได้รับการยกย่องนับถือจากผู้อน
                  คำตอบของมาสโลว์ คือ ความต้องการของมนุษย์จะถูกเรียงตามลำดับจากสิ่งที่กดดันมากที่สุดไปถึงน้อยที่สุด
                  ทฤษฎีของมาสโลว์ได้จัดลำดับความต้องการตามความสำคัญ คือ

                         - ความต้องการทางกาย (physiological needs) เป็นความต้องการพนฐาน คือ อาหาร ที่พก
                                                                                                          ั
                                                                                       ื้
                  อากาศ ยารักษาโรค

                         - ความต้องการความปลอดภัย (safety needs) เป็นความต้องการที่เหนือกว่าความต้องการ

                  เพื่อความอยู่รอดเป็นความต้องการในด้านความปลอดภัยจากอันตราย

                         - ความต้องการทางสังคม (social needs) เป็นการต้องการการยอมรับจากเพื่อน

                         - ความต้องการการยกย่อง (esteem needs) เป็นความต้องการการยกย่องส่วนตัว ความนับถือ

                  และสถานะทางสังคม

                         - ความต้องการให้ตนประสบความสำเร็จ (self – actualization needs) เป็นความต้องการสูงสุด

                                                                                                     ึ
                  ของแต่ละบุคคล ความต้องการทำทุกสิ่งทุกอย่างได้สำเร็จ บุคคลพยายามที่สร้างความพงพอใจ
                  ให้กับความต้องการที่สำคัญที่สุดเป็นอนดับแรกก่อน เมื่อความต้องการนั้นได้รับความพงพอใจ
                                                      ั
                                                                                                    ึ
                  ความต้องการนั้นก็จะหมดลงและเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลพยายามสร้างความพงพอใจให้กับความต้องการ
                                                                                    ึ
                  ที่สำคัญที่สุดลำดับต่อไป ตัวอย่างเช่น คนที่อดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะไม่มีความสนใจต่องานศิลปะ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19