Page 8 - การพัฒนาการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาของคอมพิวเตอร์
P. 8
ิ
�
ี�
่
หนวยท1 ภาษาคอมพวเตอร์เบองต้น 2 หนวยท1 ภาษาคอมพวเตอร์เบองต้น 3
ื
ิ
�
ื
่
ี�
......................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................
1.โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2) โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Translator) ทำาหน้าที่แปลภาษาที่ผู้เขียน
------------------------------------------------------------ โปรแกรมเขียนขึ้นให้เป็นภาษาเครื่อง ที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถปฏิบัติตามคำา
สั่งได้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งใช้ในการประมวลผลข้อมูล 1.3) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility programs) คือ โปรแกรมที่ช่วยเพิ่มประ สิทธิ
สามารถทำางานตามคำาสั่งได้รวดเร็วแต่ไม่สามารถคิดเริ่มทำางานเองได้ต้องอาศัยผู้ ภาพ ให้กับโปรแกรมระบบปฏิบัติการ โดยให้ผู้ใช้สามารถดูแลความปลอดภัยของข้อ
ใช้งาน ควบคุม เปิด ปิด หรือสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางานตามต้องการ ด้วยชุดคำาสั่งที่ มูล และตรวจสอบอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมตรวจสอบความถูกต้องของ
เขียนขึ้น ซึ่งเรียกว่าโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ (Scandisk) โปรแกรมตรวจไวรัส (Virun Scan) โปรแกรมบีบอัด
ข้อมูล (Compression Utility) โปรแกรมช่วยจัดระเบียบข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ (Disk De-
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง ชุดคำาสั่งที่มีขั้นตอน ตามลำาดับ หรือตามเงื่อนไข fragmenter) เป็นต้น
ที่กำาหนด ที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำางาน เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์ แบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรมระบบหรือซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) และ 2)โปรแกรมประยุกต์หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง
โปรแกรมประยุกต์หรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้น เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ทำางานด้านต่างๆ
ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ แบ่งรูปแบบของการพัฒนาโปรแกรมออกเป็น 2 ประเภท
1.) โปรแกรมระบบหรือซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คือ ชุดคำาสั่งที่ทำาหน้าที่ ใหญ่ ๆ คือ โปรแกรมสำาเร็จรูป (Package Software) และโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้งาน
ควบคุมการปฏิบัติงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตลอดจนทำาหน้าที่ควบคุมด้านการ เฉพาะด้าน (Application Specific)
สื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ โปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (Trans- 2.1)โปรแกรมสำาเร็จรูป (Package Software) เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาโดยไม่
lator) และโปรแกรมอรรถประโยขน์ (Utility programs) เจาะจงสำาหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง แต่พัฒนาขึ้นสำาหรับงานทั่ว ๆ ไป ที่ผู้ใช้
1.1) โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) เป็นโปรแกรมที่ทำาหน้าที่ สามารถเลือกโปรแกรมเหล่านั้นไปประยุกต์ใช้กับงานของตนได้ทันที เช่น โปรแกรม
เป็นสื่อกลางในการประสานงานระหว่าง โปรแกรมต่าง กับ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ประมวลคำา (Word Processing) โปรแกรมตารางงาน (Spreadsheet) โปรแกรมกราฟิก
โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง (Graphics Software) เป็นต้น
ต้องถูกติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการก่อนที่จะติดตั้งโปรแกรมใช้งานอื่น ๆ ระบบ 2.2)โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะด้าน (Application Specific) เป็นโปรแกรมที่
ปฏิบัติการที่รู้จักกันทั่วไป เช่น วินโดวส์ (Wondows) , ลีนุกซ์ (linux), ยูนิกซ์ (Unix) ถูกพัฒนาขึ้นสำาหรับการใช้งานเฉพาะภายในหน่วยงาน และพัฒนาตามความต้องการ
เป็นต้น ของหน่วยงาน แต่ละหน่วยงาน เช่น โปรแกรมข้อมูลนักเรียน-นักศึกษา โปรแกรม
สหกรณ์ร้านค้า เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้มีค่าใช้จ่ายในการพัฒนาสูง และใช้เวลาใน
การพัฒนานาน