Page 5 - Progenitor
P. 5
DRAFT - 333 ANYWHERE
DRAFT - 333 ANYWHERE
บทความจาก Curator
ผมไม่รู้จริงๆว่าอ.ศิลป์ พีระศรี คิดอะไร ตอนตัดสินใจมาเมืองไทย จ่าง แซ่ตั้งซึ่งเป็นศิลปินเขียนผงถ่านอยู่วงเวียนใหญ่ก็มาร่วมกลุ่ม กลุ่ม
ตามข่าวที่ได้ยินมา คือท่านทราบว่าเมืองไทยกำาลังสั่ง “หินอ่อน” เป็นจำานวนมาก เดียวกับกมล ทัศนาญชลี
ท่านจึงเข้าใจว่าประเทศไทยจะต้องมีการแกะสลักหินอ่อนอย่างมากมายเหมือนที่โรม ที่อิตาลี่ วันที่ประเทืองได้รางวัลจากการประกวดศิลปกรรมแห่งชาติ จึงเป็นการ
เขาทำากัน ประกาศชัยชนะของศิลปินจนๆ คนหนึ่ง
เมื่อมาถึงเมืองไทยแล้วท่านถึงรู้ว่าหินอ่อนที่รัฐบาลสั่งมานั้น เขาเอามาเพื่อสร้าง เรามีอาจารย์ใหม่ชื่อ ชลูด นิ่มเสมอ ซึ่งอยากเป็นศิลปินมาก แต่โดน
พระที่นั่งอนันตสมาคม ขอร้องจากครูของเขา (ศิลป์ พีระศรี) ให้มาเป็นครู
เมื่อถึงเมืองไทย อ.ศิลป์ได้ไปเห็น “พระพุทธรูปปางลีลา” สุโขทัย ท่านก็ชอบมาก ชลูด ถูกส่งไปเรียนต่อที่โรม เมื่อไปถึง เขาเอางานชุด “ปิดทอง” ไปด้วย ให้โปร
คิดว่าศิลปะไทยไปไกลขนาดนี้แล้วหรือ เพราะไปถึง “ทิพย์ภาวะแล้ว” เฟสเซอร์ที่นั่นดู โปรเฟสเซอร์ 4-5 คนดูงานพร้อมกัน แล้วบอก
ท่านเปิดโรงเรียนประณีตศิลปกรรม พร้อมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง “ถ้าฝีมือขนาดนี้ อย่าเข้ามาเรียนปี 1 เลย พรุ่งนี้ขอให้เธอเลื่อนชั้นไป
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีคนมาสมัครเรียนถึง 7000 คน เรียน ปี 3 ทันที”
ขณะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรมของศิลป์ พีระศรีมีคนมาแค่ 7 คน ชลูดใช้เวลาเรียน2 ปี ก็จบการศึกษา ท่านวาดเส้นเมืองโรมไว้ 50 กว่า
แต่ 1 ใน 7 นั้นมีชื่อ “เฟื้อ ทองอยู่” ด้วย และเฟื้อคนนี้เองที่อ.ศิลป์เขียนจดหมายแนะนำาตัวเขา ชิ้น ด้วยปากกาไม้อ้อ และนำากลับมาเมืองไทย มีคนๆเดียวเท่านั้นที่ได้เห็นงานชุดนี้
ตอนไปสมัครเรียนที่ศานตินิเกตันว่า “นี่คือศิลปินที่ดีที่สุดที่เรามีในขณะนี้” คือ ศ.ศิลป์ พีระศรี
การเรียนประวัติศาสตร์ศิลป์สำาหรับผมสนุกมากนะครับ เพราะมีตัวละคร สลับสับเปลี่ยนมา นิทรรศการครั้งนี้ที่แสดงที่ 333Anywhere เป็นการทำางานร่วมกัน
ช่วยเล่าเรื่องราว และทุกคนต่างมีสีสันเป็นของตนเอง ระหว่างสมาคมนักสะสมงานศิลปะไทย และ 333Gallery โดยเชิญผมให้มาเป็น
วันที่ศิลป์ พีระศรีเสียชีวิตในปีพ.ศ. 2505 ถวัลย์ ดัชนีเรียนอยู่ชั้นปี 5 เขาสอบชิงทุน คิวเรเตอร์ ผลงานทั้งหมดเป็นงานสะสมของนักสะสมชั้นนำา ผมนำาประวัติศาสตร์มา
รัฐบาลเนเธอแลนด์ได้แล้วตั้งแต่เรียนปี 4 แต่ขอผ่อนผันว่าขอเรียนให้จบหลักสูตรกับ อ.ศิลป์ เรียงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2466 ที่ ศิลป์ พีระศรี มาถึงเมืองไทย ยาวจนมาถึงปี พ.ศ. 2564
ก่อน รุ่งขึ้นปีพ.ศ. 2506 เขาก็เดินทางไปอัมสเตอร์ดัมและเป็นปีเดียวกับที่ จักรพันธุ์ โปษยกฤต ในปัจจุบัน เล่าเรื่องประวัติศาสตร์ศิลป์ ว่าเกิดอะไร และเกิดใครในยุคไหน เพื่อใช้
เพิ่งเข้าเรียนปี 1 โอกาสนี้เล่าเรื่องอันสนุกสนานของผู้คน
วันที่ถวัลย์โดนกรีดรูปที่ สำานักกลางนักเรียนคริสเตียน เขาประกาศว่า “ศิลปะยืนยาว ชีวิตสั้น”
“เมื่อไม่มีใครขานรับเสียงกู่ของท่าน จงเดินตามลำาพัง”
และเขาก็หายหน้าไปจากวงการศิลปะไทยเป็นเวลานาน คำาของ อ.ศิลป์ยังก้องอยู่ในใจ แม้ศิลปินหลายท่านจะจากเราไปแล้ว แต่ผลงานของ
ท่านก็ยังปรากฏอย่างโดดเด่น และทรงพลัง
ขณะที่ประเทือง เอมเจริญ ซึ่งเป็นช่างเขียนคัตเอาท์โรงหนัง ได้ดูหนังเรื่อง Lust
For Life ซึ่งเป็นชีวประวัติของวินเซนต์ แวนโก๊ะ และเกิดความประทับใจจนอยากเป็นศิลปิน ปกรณ์ กล่อมเกลี้ยง
อย่างแวนโก๊ะ เขาจึงลาออกจากการงานที่ทำา และเดินเข้าทุ่งนาเพื่อค้นหาตัวตน และเริ่มเป็น คิวเรเตอร์
“ศิลปินไส้แห้ง”
PROGENITOR | 5