Page 267 - Annual Report 2020_SISAKET
P. 267
254
◼ การยกระดับสินค้าสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP
1. เป้าหมาย : สมาชิกสหกรณ์ผู้ปลูกพืชผักผลไม้กันทรลักษ์ จำกัด จำนวน 60 ราย
สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกพชผักผลไม้กันทรลักษ์ จำกัด มีสมาชิกทั้งหมด 313 คน ส่วนใหญ่
ื
สมาชิกสหกรณ์ประกอบอาชีพการเกษตร ปลูกผัก ผลไม้ ได้แก่ ทุเรียน มังคุด ลำไย ยางพารา ปัจจุบัน
ผลผลิตทางการเกษตรที่สมาชิกนำมาจำหน่าย ยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP สำนักงานสหกรณ์
จังหวัดศรีสะเกษร่วมกับสหกรณ์ผู้ปลูกพืชผักผลไม้กันทรลักษ์ จำกัด จึงมีแนวความคิดที่จะต้องการยกระดับ
ผลผลิตสมาชิกสหกรณ์ให้มีคุณภาพสามารถจำหน่ายผลผลิตให้มีราคาที่สูงขึ้น สหกรณ์จึงได้คัดเลือกผลผลิต
ทุเรียนเป็นผลไม้นำร่องการยกระดับคุณภาพเป็นอนดับแรก ซึ่งทุเรียนเป็นพชเศรษฐกิจระดับต้นๆ ของ
ั
ื
จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีราคาจำหน่าย ที่สูง หากได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าแล้ว จะส่งผลให้ผลผลิตของ
สมาชิกมีมูลค่าเพมและมีคุณภาพ จึงร่วมกับสำนักงานสหกรณ์จังหวัดศรีสะเกษ ดำเนินการพฒนาผลผลิต
ิ่
ั
ของสมาชิกสหกรณ์ให้ได้การรับรองมาตรฐานสินค้า วิธีปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร GAP ปี 2563 มีสมาชิก
สหกรณ์ที่ปลูกทุเรียนทั้งหมด 113 ราย ขอเข้าสมัครเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 60 ราย
2. ตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPI) :
ร้อยละ 60 ของสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP (36
ราย)
3. รายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template) :
3.1 คำอธิบายตัวชี้วัด
ื่
สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯเพอให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP (36 ราย) ทุเรียน
จากกรมวิชาการเกษตร
์
3.2 เกณฑการประเมิน/การคำนวณ (ระบุวิธีการที่จะใช้ประมวลผลความสำเร็จของตัวชี้วัดที่
กำหนด)
- คัดเลือกสมาชิกผู้ประสงค์เข้าร่วมโครงการฯ โดยวิธีการรับสมัคร
- ดำเนินการตามขั้นตอนของการประเมิน
- สรุปผลที่ได้จากการประเมิน มีสมาชิกสมัครเข้าร่วมโครงการ 60 ราย
ดำเนินวิธีการประเมินและการคำนวณผลตัวชี้วัดตามสูตร
้
KPI = สมาชิกทั้งหมดที่เขาร่วมโครงการฯ X 60 = 36 ราย
100
3.3. แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล
- แหล่งข้อมูลจาก : ผลการรับรองมาตรฐาน GAP ของกรมวิชาการเกษตร
- วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1. เก็บข้อมูล โดยสมุดบันทึกข้อมูลรายแปลง
2. ลงตรวจแปลง และสุ่มตัวอย่างผลผลิตทุเรียนที่นำไปตรวจวิเคราะห์