Page 126 - Portrait Painting
P. 126
กระบวนการ Drawing ทั้งหมดมีจุดหมายเพื่อแสดงมวลพลังของภาพ (พระบรมสาทิสลักษณ์) ที่
ื
เกิดจากความเพียรในการซ้อนทับกันของเส้นอย่างมากมายมหาศาล เพ่อให้การดูภาพระยะไกลเป็นความ
ื
�
้
ี
ื
สง่างามและเม่อดูภาพระยะใกล้เป็นนาหนักแสงเงารายละเอียดท่แสดงให้เห็นความเป็นกล้ามเน้อมีพลัง
และความเป็นจริง
ศิลปิน วราวุฒิ โตอุรวงศ์
ชื่อภาพ รัชกาลที่ 9
ปี 2560
ขนาด 90 x 70 เซนติเมตร
เทคนิค สีน�้ามันบนลินิน
แหล่งที่มา สูจิบัตรจากนิทรรศการ “In Loving
Remembrance”
ใช้วัสดุอุปกรณ์ปกติเพื่อสร้างสรรค์ความเป็นไปได้ในการแสดงออก
สร้างค�านิยามใหม่ในการสร้างสรรค์ศิลปะ
ี
ผลงานของ วราวุฒิ โตอุรวงศ์ มีลักษณะการสร้างสรรค์ท่คล้ายการปะติด (Col-
lage) คือมีพ้นท่แยกออกจากกันระหว่างรูปทรง (Form) และพ้นหลัง (Background)
ื
ื
ี
ี
่
และมความตางด้วยเทคนิควธสร้างสรรค์ของ 2 ส่วนดังกล่าว โดยทรปทรง (Form) เขียน
ี
ิ
ู
่
ี
ด้วยกระบวนการเกล่ยเรียบเนียนลักษณะเป็นภาพ “จิตรกรรมคือภาษาภาพ”
ี
ี
ส่วนของพ้นหลัง (Background) เขียนโดยใช้สีท่มีความหนา
ื
กว่ารูปทรง (Form) และไม่ได้เกล่ยเนียน คงความเป็นฝีแปรงและความ
ี
ื
หนาของเน้อสีทาให้ดูคล้ายวัตถุ และไม่เช่อมต่อเข้ากับรูปทรงอย่างสนิท
�
ื
กลับเปิดเผยช่องว่างที่เรียกว่า “ผืนผ้าใบ” เอาไว้อีกส่วนหนึ่ง จึงกลาย
ื
ี
ั
ี
เป็นว่า “ภาพ” แสดง “ความจริง” ของพ้นท่ท้ง 3 ท่ประกอบกัน
(“เพราะจิตรกรรมคือวัตถุ” : Clement Greenbert)
ึ
หากมองในระยะไกลผลงานของวราวุฒิ จะดูกลมกลืนกันด้วยการลวงตาอันเป็นภาษาหน่งของ
จิตรกรรม แต่หากได้ลองพิจารณาผลงานในระยะใกล้จะเห็นความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดของการแยก
�
กันระหว่างความเป็นรูปและความเป็นนาม น่คือสาระสาคัญของผลงานท่ทาให้ผู้ชมได้ย้อนกลับมาคิดว่า
ี
�
ี
“ท�าไมเราจึงรักในหลวง” รูปธรรมที่เห็นหรือนามธรรมที่ผ่านอารมณ์ความรู้สึก
125 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING