Page 30 - 46-86
P. 30
ื
ี
ื
ผู้เขียนได้นาลักษณะการสร้างสรรค์ประติมากรรมเร่องแสงและเงา รูปทรงและพ้นท่ว่าง ของ
�
ื
ท่านอาจารย์มานาเสนอผ่านการเช่อมโยงไปสู่เทคนิคทางจิตรกรรมของจิตรกรยุค Baroque ท่านหน่ง
ึ
�
คือ Rambrandt คือการใช้ค่าน�้าหนักมืดจัดสว่างจัดที่เรียกว่า Chiaroscuro และการแยกล�าดับ
ั
ิ
ั
ช้นข้นตอนในการระบายสีโดยเร่มจากระบายแยกช้นของแสงและเงาด้วยสีหนามีมวลมาก (Under
ั
ี
ื
่
�
Painting) คล้ายนูนตาท่ความนูนสัมพันธ์กับระยะ Perspective ความนูนกับความใกล้เพ่อรับแสง
จากหลอดไฟและแสงอาทิตย์ ขั้นตอนต่อมาคือการเคลือบสี Transparent ให้ภาพมีชีวิต มีเลือด
ุ
ั
เนอไปพร้อมกบการเปดเผยโครงสรางของรูปทรง และขนตอนสดทายคอการปาดปายสหนาบรเวณ
้
ี
้
ื
้
ิ
ั
ื
้
้
ิ
ที่เป็นแสงสว่างสูงสุดของภาพ โดยเฉพาะ Hilight Impesto ผู้เขียนใช้กระบวนการท�างานดังกล่าว
จาก Rembrandt เพื่อแสดงความหมายและสร้างแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาเรื่อง แสง – เงา, มืด -
สว่าง, รูปทรง – พื้นที่ว่าง, รูปธรรม – นามธรรม สองสิ่งที่ยึดโยงความหมายซึ่งกันและกัน 6
6 ธณฤษภ์ ทิพย์วารี (2558). Portraits of Human Being [สูจิบัตร]. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร
75 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING