Page 4 - 46-86
P. 4
ในการเขียนภาพศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก กับนิยามว่า “สูงสุดคือสามัญ” ในฐานะ
บุคคลและในการสร้างสรรค์ศิลปะนามธรรมของท่าน ก็ใช้การสร้างเส้น สี จุด และระนาบอันสามัญ ด้วย
�
ื
้
ั
ี
พุทธิปัญญาและปรีชาญาณ ผู้เขียนใช้ข้นตอนทางเทคนิควาดเส้นเกรยองบนกระดาษท่ชุ่มนา เพ่อให้ผงถ่าน
ละลายและฝังตัวลงในเน้อกระดาษท่ได้สร้างร่องลึกไว้ก่อนหน้าจากมีดปลายแหลม กรีดลาก ฉลุ ตาม
ื
ี
ื
�
โครงสร้างกล้ามเน้อและกระดูก เกิดเป็นร่องรอยของเส้นจานวนมหาศาลแต่เป็นเส้นให้ว่าง ก่อนจะถูกแทนท ี ่
ด้วยหมึกและผงถ่าน ให้เส้นปรากฏตัวขึ้นในเชิงปริมาณและเมื่อกระดาษแห้งจากน�้าก็หดตัวท�าให้ร่อยรอย
กรีดเล็ก ๆ พลิกบิด ซึ่งเป็นผลดีต่อมิติของภาพ
�
้
ึ
�
ู
ี
ี
�
้
ั
- กระบวนการทงหมดมการทาซาไปมาจานวนมาก และผ้เขยนเขยนภาพท่านอาจารย์จานวนถง 5
ี
�
ภาพ เพื่อหาข้อพิสูจน์และหาข้อมูลจากประสบการณ์ จากการปฏิบัติ ให้ตรงและจริงตามจุดมุ่งหมายที่วาง
ไว้ให้ถึงที่สุด จนภาพแสดงความเคร่งขรึม หนักแน่น และมั่นคง
�
ี
ื
ี
- ในส่วนของพ้นหลัง (Background) ท่ดูเป็นระนาบนามธรรม เป็นทัศนะท่นามาจากผลงานจิตรกรรม
ของท่านอาจารย์ และด้วยวิธีการสร้างมิติที่ต่างออกไปโดยการปะติด (Collage) และการเช็ด ลบ ขัดหมึก
และผงถ่านออกไปจนเกิดเป็นมิตินามธรรม 3
3 ธณฤษภ์ ทิพย์วารี (2558). Portraits of Human Being [สูจิบัตร]. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร
49 | จิตรกรรมภาพคน PORTRAIT PAINTING