Page 49 - 1-ebookสายอากาศ
P. 49
39
บทที่ 4.
วิเคราะห์ผล
4.1 วิเคราะห์ผลจากระดับสัญญาณ
จากการเดินทางกว่า 300 กิโลเมตรทั้งกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและต่างจังหวัดที่เคยสำรวจ
สัญญาณคลื่นเมื่อปี พ.ศ.2550 ก่อนที่จะมีวิทยุชุมชน รัศมีการแพร่สัญญาณคลื่นของสถานีวิทยุจุฬาฯ
สามารถรับฟังได้ถึง 25 จังหวัด แต่หลังจาก กสทช. ออกใบอนุญาตชั่วคราวให้สถานีวิทยุชุมชนทดลอง
ออกอากาศแบบไร้การควบคุมทางด้านเทคนิคและรายการที่ส่งกระจายเสียง ทำให้รัศมีการแพร่สัญญาณ
คลื่นของสถานีหลักที่ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของ กสทช. ถูกคลื่นรบกวนจากสถานีวิทยุชุมชน จากการ
เดินทางสำรวจครั้งนี้เพื่อนำข้อมูลการแพร่กระจายคลื่นของสถานีวิทยุจุฬาฯ ณ ปัจจุบันมาทำการวิเคราะห์
เพื่อเสนอผู้บริหารมหาวิทยาลัยหาทางแก้ไขด้านเทคนิคหรือเพิ่มช่องทางเพื่อให้ผู้ฟังเข้าถึงรายการของทาง
สถานีให้สอดคล้องกับพันธะกิจ “คลื่นความรู้สู่ประชาชน" ผลการวัดและทดสอบสัญญาณ ดังนี้
ตารางที่ 4.1 ผลการวัดและทดสอบระดับสัญญาณคลื่นในพื้นที่ต่างจังหวัด
ระดับสญญำณ ผลกำรรบฟง วเครำะหสำเหตุ
ั
ั
ิ
์
ั
ิ
ล ำดับ สถำนที่ (dBm) วทยุจุฬำฯ มีคลนรบกวน
ื่
ี
1 อ.เมอง จ.พระนครศรอยุธยา -89.5 70 % มคลน 101.25, 101.35 MHz
ื่
ี
ื
2 ต.ย่านซอ อ.เมอง จ.อ่างทอง -84.56 30 % มคลน 101.75 MHz
ื่
ี
ื่
ื
ี
ุ
3 อ.เมอง จ.สงห์บุร ี -83.42 0 % มคลนชมชนปากน ้าโพ FM101.5
่
ิ
ื
ื
MHz และ อสมท.FM101.75 MHz
่
ี
ิ
ุ
4 อ.วัดสงห์ จ.ชัยนาท -91.72 0 % มคลนชมชนปากน ้าโพ FM101.5
ื
MHz และ อสมท.FM101.75 MHz
ื
่
ุ
ี
5 อ.เมอง จ.อุทัยธาน ี -91.85 0 % มคลนชมชนปากน ้าโพ FM101.5
ื
MHz และ อสมท.FM101.75 MHz
6 ปากน ้าโพ จ.นครสวรรค์ - 0 % ทตั้งคลนชมชนปากน ้าโพ 101.5
ุ
่
ี
่
ื
7 อ.เมอง จ.ลพบุร ี -90.13 60 % มคลน 101.25, 101.75 MHz
ื
ี
ื่
์
ิ
8 เขื่อนปาสักชลสทธ จ.ลพบุร ี -76.3 90 % มคลน 101.75 MHz
ี
ื่
ิ
่