Page 3 - 1-ebookสายอากาศ
P. 3

ii

                     ชื่อโครงการ การพัฒนาสายอากาศไมโครสตริปชนิดออนแบบมีภาคขยายสัญญาณสําหรับรับสัญญาณ
                                                                 
                     โทรทัศนระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน
                                            
                                                    ิ
                                                  ุ
                     ชื่อผูดําเนินการ นายธีรพงษ ประทมศริ
                                          ี
                     เดือนและปที่ทําสําเร็จ มนาคม 2562
                           
                     บทคัดยอ
                                                     
                     การพัฒนาสายอากาศสายอากาศชนิดออนแบบมีภาคขยายสัญญาณสําหรับใชงานรับสัญญาณโทรทศน
                                                                                                      ั
                                                                    
                     ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินเพื่อแกปญหาในพื้นที่ทมีสัญญาณออนเนื่องจากหางไกลจากสถานีสงสัญญาณ
                                                           ี่
                                                    ู
                     ลักษณะโครงสรางของตัวสายอากาศถกออกแบบเปนเสนลายวงจรแบบขดวกวนลงบนแผนโพลีไอมายดท    ี่
                     ความหนาเพียง 0.3 มิลลิเมตร จึงสามารถโคงบิดงอได มีน้ําหนักเบา ขนตอนการจําลองการออกแบบและ
                                                                              ้
                                                                              ั
                                            ิ
                                                     ่
                                                     ิ
                     สรางจะใชโปรแกรมเชิงพาณชย การเพมการออกแบบวงจรภาคขยายสัญญาณฝงลงบนแผนสายอากาศจะ
                                            ็
                     ทําใหสายอากาศเปนชนิดแอคทีฟโดยแทรกวงจรภาคขยายระหวางปลายเสนขดวกวนกบจุดปอนสัญญาณ
                                                                                            ั
                               ํ
                                                                                      
                     ทั้งนี้จะตองคานึงถึงคาอิมพแดนซของสายอากาศใหเหมาะสม สายอากาศชนิดออนแบบมีภาคขยาย
                                           ิ
                                                                                    
                     สัญญาณตนแบบที่สรางขึ้นจะถูกนําไปทําการวัดและทดสอบ 4 ขั้นตอน ไดแก วัดในหองปฏิบัติการวิจัยคลื่น
                     แมเหล็กไฟฟา วัดในภาคสนาม ติดตั้งสายอากาศในรถวัดสัญญาณขณะรถวิ่งและวัดในหองสภาพแวดลอม
                     การใชงานจริง ผลการวัดคาพารามิเตอรตางๆเปนไปตามทตองการ ไดแกคาอัตราการสะทอนกลับนอยกวา
                                                                    ี่
                     10 dB คาอัตราขยายสูงถง 18 dB รูปแบบการแพรกระจายคลื่นเปนแบบรอบตัวเหมาะสําหรับใชงานรับ
                            
                                          ึ
                     สัญญาณโทรทัศนระบบดิจิทัลที่ยานความถ 510-790 MHz การนําสายอากาศตนแบบไปติดตั้งในรถยนต
                                                        ี่
                                                                   ี่
                     นับเปนสิ่งทาทายเปนการทดสอบสัญญาณขณะเคลื่อนท โดยทําการวัดทั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
                     ปริมณฑลและตางจังหวัดเพื่อทดสอบประสิทธิภาพสายอากาศพบวา ระดับสัญญาณที่รับไดสัมพันธกับ

                                  ี่
                     ความเร็วเฉลี่ยท 60-80 กม./ชม. สัญญาณภาพไมเกิดการกระตุกหรือคางตลอดเสนทางการทดสอบแสดงให
                                                             
                     เห็นวา สายอากาศชนิดออนแบบมีภาคขยายสัญญาณฝงไวในสายอากาศทออกแบบและสรางขึ้นนี้ ม ี
                                                                                 ี่
                     ประสิทธิภาพสูงควรมการพัฒนาตอไป
                                       ี
                     คําสําคัญ: สายอากาศไมโครสตริป, สายอากาศชนิดออนแบบมีภาคขยายสัญญาณ, สายอากาศโทรทัศน
                     ดิจิทัล
   1   2   3   4   5   6   7   8