Page 40 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 40

โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G







                              5. นักวิจัยทั้ง 70 คนเข้าท างานงานวิจัยได้ตามแผนที่ก าหนด เพื่อพัฒนากรณีตัวอย่างการ
                       ประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยี 5G ตามข้อเสนอในโครงการย่อย 15 โครงการ

                              6. ออกแบบพื้นที่ส าหรับการสาธิตและดูงาน และตกแต่งให้พร้อมโดยจะต้องประสานงานกับ

                       ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ประกอบการ นักวิจัย ทีมงาน กสทช.
                              7. คณะกรรมการจะมีการติดตามผลงานวิจัยให้ด าเนินการไปได้อย่างสัมฤทธิ์ผลและให้การ

                       สนับสนุนในการแก้ปัญหาที่อาจขึ้นตลอดโครงการ

                              8. มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะร่วมกันระหว่าง กสทช. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                       ผู้ประกอบการ ผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคม และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง

                              9. เตรียมความพร้อมในการพัฒนาโครงการใหม่ ๆ ที่ทันสมัยและแสวงหาความร่วมมือ

                       เพิ่มเติมกับ มหาวิทยาลัยอื่น ๆ และภาคอุตสาหกรรมที่สนใจ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศอย่าง
                       แท้จริง

                              10. วางแผนในระยะยาวเพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถปฏิบัติงานวิจัยขั้นสูง สร้างสรร

                       นวัตกรรมสมัยใหม่ และเป็นศูนย์กลางความเชี่ยวชาญพิเศษที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยี 5G
                       AI และ IOT ในระดับภูมิภาค เป็นที่พึ่งของประเทศในการขับเคลื่อนเทคโนโลยีได้อย่างต่อเนื่องและ

                       ยั่งยืน


                       3.  ขอบเขตด าเนินงาน

                          1.  จัดตั้งศูนย์ 5G AI/IoT Innovation Center เพื่อการด าเนินการวิจัย ติดตั้งโครงข่าย รวมถึง

                              เป็นศูนย์สาธิตเผยแพร่ความรู้อันทันสมัย ณ อาคารจุฬาพัฒน์ 14 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                          2.  การทดสอบ ทดลองและวิจัยเทคโนโลยีในยุค 5G (5G Testing) ติดตั้งโครงข่าย 5G บนพื้นที่

                              ครอบคลุม  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทั้งหมด  ซึ่งหมายรวมถึงสยามสแควร์และโรงพยาบาล

                              จุฬาลงกรณ์ด้วย
                          3.  การพัฒนาและทดสอบรูปแบบการใช้งานโดยผสานความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน

                              ทั้งผู้ผลิตอุปกรณ์  ผู้ให้บริการโทรคมนาคม  ผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ  และสถาบันอุดมศึกษา

                              ต่าง  ๆ  ตลอดจนหน่วยงานวิจัยของรัฐ  เพื่อพัฒนาให้เกิดองค์ความรู้ของประเทศเกี่ยวกับ
                              เทคโนโลยี 5G

                          4.  เตรียมโครงสร้างพื้นฐาน  อุปกรณ์โครงข่าย  และพื้นที่ส าหรับการพัฒนาบุคลากรและองค์

                              ความรู้ที่เกี่ยวข้อง  (People  Development)  โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและความรู้ของ





                       [เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                              30

                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45