Page 30 - นิตยสารยาหม่องสมุนไพร
P. 30
ุ
ั
์
ี่
ี
่
ึ
ค ว ามพงพอใจโดยรวมทมตอการออกแบบฉลากบรรจภณฑ ยา หม่อง
้
ข องกลุมวิสาหกจชมชนสมุนไพรพืนบานโปงแดงใหม่ จั งหวัดเชยงราย
่
้
ี
ุ
่
ิ
ภาพรวมของการตอบแบบสอบถามจากผู้บริโภค จ านวน 50 คน ผู้บริโภคมี
ี่
ี่
ความพึงพอใจในฉลากบรรจุภัณฑ์รูปแบบท 2มากทสุด ซึ่งสอดคล้องกับฉลากบรรจุ
ี่
ภัณฑ์ทผู้ประกอบการมีความพึงพอใจเช่นกัน ทงในประเด็น เครื่องหมาย สัญลักษณ์
ั้
ี่
้
ั
การคา อยู่ในต าแหน่งทเหมาะสม ไม่รบกวนข้อมูลส าคญของสินคา ภาพเสมือนจริง
้
บ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของตัวผลิตภัณฑ์ เช่น รูปตะไคร้ = กลิ่นตะไคร้ การเลือกใช้สีบน
ฉลากเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ฉลากบรรจุภัณฑ์ มีความโดดเด่นแตกต่างจากฉลากบรรจุ
ภัณฑ์ประเภทเดียวกัน การใช้สีทแตกต่าง ช่วยให้แยกแยะประเภทของผลิตภัณฑ์ ตรา
ี่
สินคารูปทรงวงกลม ทาให้ฉลากดูกลมกลืนและโดดเด่น รูปแบบตัวอักษรชัดเจน ง่าย
้
ั้
ต่อการอ่าน ทงนี้อาจเป็นเพราะ ฉลากบรรจุภัณฑ์สามารถ แสดงลักษณะเฉพาะทโดด
ี่
เด่น แตกต่างบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของตัวผลิตภัณฑ์ การวางต าแหน่งเครื่องหมาย
สัญลักษณ์การคาทเหมาะสม และเสริมด้วยการใช้สีทแตกต่างบนตัวฉลากบรรจุภัณฑ์
ี่
้
ี่
ิ
ิ
ซึ่งสอดคล้องกับแนวคดของ ประชิด ทนบุตร,2531 และ วรพงศ์ วรชาติพงศ์อุดม
,(2535) ได้กล่าวไว้ว่า องคประกอบของการออกแบบกราฟิก ต้องประกอบไปด้วย
์
้
ตัวอักษร ภาพประกอบ สี รวมการออกแบบฉลากและป้ายสินคาควรคานึงถึง
องคประกอบ ชื่อและตราสินคา ข้อมูล ภาพประกอบและลวดลาย เครื่องหมาย สีมี
้
์
บทบาทส าคญต่อการออกแบบตราสินคา สามารถส่งผลกระทบต่อจินตนาการ และ
้
ั
์
อารมณ์ของมนุษย์ตามวัตถุประสงคของนักออกแบบ เช่นเดียวกับ อารยะ ศรีกัลยาณ
ี่
บุตร (2541) ได้กล่าวไว้ว่า การใช้สีในการออบแบบทดีนั้นควรจะทางานได้ในสีเดียว
แต่ใน ปัจจุบันมีสถานการณ์ที่อนุญาตให้ใช้ตราสินค้าที่เป็นสีต่าง ๆ นักออกแบบก็ควรมี
ความระมัดระวัง และความเข้าใจให้ลึกซึ้งถึงเหตุผล เช่นเดียวกับ อัจฉรา ดลวิทยาคณ.
ุ
(2552) ได้กล่าวไว้ว่า ลักษณะของผลิตภัณฑ์ การแยกแยะประเภทของผลิตภัณฑ์
การท าให้สินค้าโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์