Page 8 - PEA Tech In Update Vol.1
P. 8
ความแข็งของอะลูมินา (Al2O3) ที่มีอยู่ในลูกถ้วย
ปอร์ซเลนเป็นจุดเด่นที่ท าให้เหมาะในการน าไปใช้กับงาน
คอนกรีตและพื้นถนนเพราะจะท าให้ได้ก าลังอัด ความ
่
้
ทนทานและตานการสึกหรอได้ดี แตคุณสมบัต ิ
ดังกล่าวกลับเป็นอุปสรรคในการรีไซเคิลด้วยการบด
้
ย่อยที่ตองใชการบดย่อยหลายขั้นตอนและปัญหา
้
เครื่องมือบดย่อยสึกหรอได้ง่าย นอกจากนั้นแล้วการ
จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จากลูกถ้วยปอร์ซเลนที่
เสื่อมสภาพยังต้องพิจารณาความต้องการของตลาด
รูปแบบของธุรกิจ ซึ่งอุปสรรคนี้เป็นความท้าท้ายใน
การน าลูกถ้วยปอร์ซเลนที่เสื่อมสภาพของ กฟภ. ซึ่งมี
ั
จ านวนประมาณ 80,000 ตน กลับมาเพิ่มมูลค่าและ
ใช้ประโยชน์
Nano กฟภ. ได้สนับสนุนงบประมาณจ านวน 1,920,000
Cement clay บาท ให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
่
รัตนโกสินทร์ผานกองทุนการ วิจัย พัฒนาและ
ู้
ิ
นวัตกรรม ที่ ฝวพ. เป็นผรับผดชอบ เพื่อด าเนิน
้
การศึกษาการใชประโยชน์จากลูกถ้วยปอร์ซเลนที่
ชารุดหรือเสื่อมสภาพในรูปแบบการบดละเอียดถึง
้
ระดับ NANO เพื่อใชประโยชน์ในการผสมคอนกรีต
เพื่อเพิ่มความสามารถรับก าลังอัด และบดหยาบ
้
เพื่อใชเป็นวัสดุมวลรวมในการผลิตเป็นวัสดุ
ก่อสร้าง โดยก าหนดให้มีการศึกษาความคุ้มค่าใน
เชิงเศรษฐศาสตร์ และประเมินความเป็นไปได้ในการ
ท าธุรกิจทั้งสองแนวทางทั้งในด้านการเงิน ด้าน
TECHNOLOGY &
ลูกค้า ผลิตภัณฑ์ และบริการ ด้านกระบวนการ
ภายใน และด้านการเรียนรู้และการพัฒนาของ
โครงการ INNOVATION UPDATE
PEA
5