Page 52 - Demo
P. 52
ภําพท่ี ๗ ภําพซ้ํายกํารศึกษําแฮปโลกรุปเพศหญิง mtDNA (Wibhu, 2019) และ ภําพขวําแฮปโลกรุปเพศชําย Y - DNA ของไทย (Wibhu, 2018)
ใตข้นึ้เหนอืระบวุา่เอเชยีตะวนัออกสว่นใหญอ่พยพมาจาก อาเซียน๑๘ เป็นหลัก แบบก้ามปูเป็นรอง
การวเิ คราะหป์ ระวตั ศิ าสตรไ์ ทยดว้ ยลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ร่วมกับแนวทางเดิม
การวิเคราะห์ทางพันธุกรรม ๕ กลุ่มภาษาข้างต้น ท่ีเดินทางจากอินเดียเข้าสู่จีนน้ัน สอดคล้องกับตานาน “เจ้าตระกูลเมือง”๑๙ รัฐน่านเจ้าว่าสืบเชื้อสายมาจาก มคธราษฎร์ พระเจา้ อโศกมหาราช กบั นางเขยี นเมอื งควาย
มีโอรสชื่อตีเมืองซูต่อมาตีเมืองซูมีโอรส๙คนเป็นต้น ตระกลู เผา่ ตา่ ง ๆ ในจนี คอื ซฟู หู ลา้ ตระกลู อ้ี (หย)ี ซเู ตยี น ต้นตระกูลโท้ (ทิเบต) ซูนาตระกูลฮั่น ซูชวนตระกูลม่าน (ขึ่นม่าน) ซูตกตระกูลน่านเจ้า ซูโถตระกูลลังกา ซูดิน ตระกูลญวน ซูส่งตระกูลชินกะ (แคว้นผาซ่ือ) และซูสู่ ตระกูลหยีขาว (ไป่หยี) ท้ังน้ีเจ้าซูส่งมีลูกหลานครอง อาณาจกั รนา่ นเจา้ จนสน้ิ สดุ ทถี่ กู มองโกลยดึ ครอง ทงั้ หมด อยู่ในจีนหลัง ๕๐ kBP
ภําพที่ ๘ ภําพซ้ํายเส้นทํางของคํา “คึ” และภําพขวําเส้นทํางของคํา “ปอ”
๑๘ Lee, H. and Clontz, J. 2012 “reviewing the prehistoric linguistic relationships of the Tai-Kadai language family and its putative linguistic affiliations” Silapasart Journal 4(1): pp.20-38.
๑๙ พลําดิศัย สิทธิธัญกิจ, ประวัติศําสตร์ไทย (กรุงเทพฯ ฝ่ํายโรงพิมพ์ บริษัทตถําตํา,๒๕๔๗), หน้ํา ๒๘๓-๒๘๕
นาวิกศาสตร์ 51 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔