Page 53 - Demo
P. 53

 ยุคดึกดาบรรพ์ (๖๐,๐๐๐ - ๖,๐๐๐ BC) ไทอยู่ในจีน มานาน
ประวตั ศิ าสตรไ์ ทอาหมระบวุ า่ ฟา้ เปน็ มติ ๒๐ (สางเหนอื ) เป็นผู้สร้างโลกและคน คัมภีร์พุทธมหาวงศ์กล่าวว่าชาว ไทใหญ่เช่ือว่าขุนสางหลวงมาแก้ปัญหาไฟไหม้ น้าท่วม จนคนไทแต่งงานมีลูกหลานสืบมา๒๑ ชาวไทในเวียดนาม เชื่อว่าพญาแถน น้าเต้าปุ้ง เป็นต้นกาเนิดคนไท๒๒ เช่นเดียวกับพงศาวดารล้านช้าง๒๓ ชาวจ้วงเช่ือในปู่รู้ทั่ว และแม่นกจั๊บ๒๔ ไทลื้อเชื่อว่ามนุษย์คู่แรกของไทคือ ปู่สังคะสาย่าสังคะสี๒๕ เพศแม่เป็นใหญ่ ต้ังเมือง “สี” หากรวมคาว่า “อาน” ที่หมายถึงที่อาศัย (อานม้า) จะเปน็ “สอี าน”สอดคลอ้ งตามเรอื่ งเลา่ โบราณ“ฟา้ สอี าน/ พระศรอี ารย”์ ซง่ึ อาจเปน็ ยคุ แรกทขี่ นุ วจิ ติ รมาตราระบวุ า่ กาเนิดชนชาติไทคืออาณาจักรอ้ายลาว ๗ kBP๒๖ หนังสือปกปุ่มเครือเมืองไต กล่าวถึง “เหง้าเผเชื้อเครือไต” ว่าอพยพมาจากเหนือของแม่น้าแยงซีเกียงประมาณ ๕.๕ kBP๒๗
การค้นพบศพสตรีที่ “บ้านปอ”๒๘ (๖.๕ kBP) สนับสนุนวัฒนธรรมไทเร่ืองสตรีเป็นใหญ่ พบคาว่า “ปอ” มากมายเช่น แคว้น “ซีปอ” ในพม่า ๕๐๐ BC อา้ งโดยดอดด๒์ ๙ เมอื ง “ปอ” ใตเ้ สฉวนตน้ ทาง “ปอนา่ น” ไปพม่า เมือง “ปอ” (๒๒๐๐ BC) ของสางใกล้ทะเล “ปอไห่” ซึ่งนอกคาว่า “ปอ” แล้วพบคา “คึ (ใหญ่ หรือแผ่นดิน)”๓๐ เมือง “ผีอึงคี” แม่น้า “สางคึ” “เจ้าคึ
(Gaoge)” เมอื งหลวงสาง (๑๑๐๐ BC) รวมทง้ั “หว้ ยค”ึ (Hwuy-ke๓๑, Guiji) (๒๒๐๐ BC) และวัฒนธรรม คสึ งิ จว้ ง (Ke-xing-zhuang II)๓๒ ในยคุ เขาลงุ (Longshan) ทมี่ กี ารเผากระดกู ทา นายเหมอื นราชวงศส์ าง และไทใหญ่ ภาพที่ ๘ แสดงเส้นทางของคาว่า “คึ” และ “ปอ”
ภําพที่ ๙ คําไทในดินแดนยุคสํามปฐมกษัตริย์
ภําพท่ี ๑๐ ดินแดนเผ่ําต่ําง ๆ ยุค ๓ กษัตริย์ (Wikipedia)
   ๒๐ รณี เลิศเล่ือมใส ล ด. หน้ํา ๑๐๒
๒๑ สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธ์, ประวัติศําสตร์ไทใหญ่ (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์, ๒๕๔๔), หน้ํา ๑๓
๒๒ ภัททิยํา ยิมเรวัต, สิบสองจุไท (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์ จํากัด, ๒๕๔๔), หน้ํา ๑๑
๒๓ พลําดิศัย สิทธิธัญกิจ (กรุงเทพฯ: ฝ่ํายโรงพิมพ์ บริษัทตถําตํา พับบลิเคชั่น จํากัด, ๒๕๔๗), หน้ํา ๒๙๐ - ๒๙๑
๒๔ ฉัตรทิพย์ นําถสุภํา วัฒนธรรมไทโบรําณ และอุษํา เจริญโลหะกุล วัฒนธรรมไทโบรําณชนชําติจ้วง กับควํามเข้ําใจวัฒนธรรมไทย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ สร้ํางสรรค์ จํากัด, ๒๕๖๒), หน้ํา ๔๖ - ๔๘
๒๕ ยรรยง จิระนคร และ รัตนําพร เศรษฐกุล, ประวัติศําสตร์สิบสองปันนํา (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์วิถีทัศน์, ๒๕๔๔), หน้ํา ๑
๒๖ กัญญํา ลีลําลัย ล ด. หน้ํา ๑๔๔
๒๗ สมพงศ์ วิทยศักด์ิพันธ์ ล ด. หน้ํา ๑๙
๒๘ ทวีป วรดิลก ประวัติศําสตร์จีน (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สุขภําพใจ, ๒๕๔๗), หน้ํา ๔๔
๒๙ Ping He, “Re-exploring the early History of tai People,” pp.1-12
๓๐ รณี เลิศเลื่อมใส ล ด. หน้ํา ๑๐๓
๓๑ James M. Hargett “Guiji? Guiji? Huiji? Kuaiji?: Some Remark on an Ancient Chinese Place-name,” University of Pennsylvania, SINO- PLATONIC PAPERS, 234: 1-32, March 2013
๓๒ Paola Dematte “Longshan Erra Urbanism: The Role of Cities in Predynastic China,” Asian Perspective 38(2:119-153,) Fall 1999.
นาวิกศาสตร์ 52 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
 














































































   51   52   53   54   55