Page 65 - Demo
P. 65
จากตานานอาณาจักรน่านเจ้าสืบเชื้อสายจากเจ้าซูส่ง ผาซ่ือมีลูกหลานนามผาใย และผามิ จนถึงองค์สุดท้าย เจ้าตวันแจงส่วนถูกมองโกลยึดใน ค.ศ.๑๒๖๐ จึงมี ความเป็นไปได้ว่าอาณาจักรน่านเจ้าเกิดจากการรวมตัว ของกลุ่มคนไท การออกเสียงแบบจีนกับช่ือผู้ปกครอง อาณาจักรน่านเจ้าสร้างความสับสน จึงมีผู้แย้งชื่อ ผู้ปกครองน่านเจ้าเป็นของไปหยี จีนเรียกอาณาจักร น่านเจ้าว่า สานสานโก๊ว ควรเป็นสานษาณคึ แปลว่า แผ่นดินของไท ๓ เผ่า หรือเก้าเผ่าไท (โกในไทใหญ่แปล เกา้ ไดด้ ว้ ย) อาณาจกั รนต้ี งั้ โดย สนี โุ หล ควรเปน็ สนี หู่ ลอ แปลว่า ชาวหลอลูกหลานย่าสังคะสีแห่งแม่น้าสาละวิน ผีล่อโก๊ะ อาจเป็น ผีหลอคึ (สางหลอคึ) หมายถึงสาง ผู้เป็นเจ้าแผ่นดินของชาวหลอ (โก๑๒๖ อาจแปลว่าเก้าได้) หมายถึงสางหลอผู้นาไทเก้าเมือง โก๊ะล่อฝง (ฝงเหมือน ฟ้า และเฟี้ย (พญา)๑๒๗ แปลว่าเจ้าแผ่นดินของ หลอ หรือ “คึหลอฟ้า” หลวงวิจิตรวาทการใช้ชื่อว่า “ขุนหลวงฟ้า”๑๒๘
ชนชาวไปหยเี ปน็ ชนชนั้ สองชนเผา่ หยี (YI) สบื เชอื้ สาย จากตงอี้ (DongYi) ยคุ ราชวงศส์ าง และอ้ี (Yi) ในแควน้ ปา ชาวอ้ีถูกเกณฑ์มาปราบแถนใน ๑๐๙ BC และตกค้างใน อี้โจว ชาวอี้ดา (Black Yi) ซึ่งเป็นชนชั้นหนึ่งไม่ยอม แต่งงานกับต่างเผ่า ไปหยี หรืออี้ขาว ซึ่งเป็นพลเมือง ช้ันสอง ส่วนอี้ดาที่แต่งกับอี้ขาวจะเป็นชนขั้นสาม๑๒๙ จึงถูกรังเกียจ จึงเป็นไปไม่ได้ที่อี้ขาวจะเป็นที่ยอมรับ ให้เป็นผู้นาอาณาจักรน่าน ที่มีชนเผ่าไทตั้งรกรากอยู่ มากมายทั่วบริเวณอัสสัม พม่า เวียดนาม ยูนนาน และ
ลานช้าง ซ่ึงการกระจายตัวของภาษาอี้ในยูนนาน โดย Steven Harrell๑๓๐ พบเป็นกลุ่มแต่น้อยมากเมื่อ เทียบกับกลุ่มภาษาไทในพื้นที่
เอกสารจนี ยอ่ มออกเสยี งเพย้ี นไปจากคา ไท เชน่ จนี ออกเสยี ง “ซอื เขอะฟะ่ ”๑๓๑ หากอา่ นชอ่ื จนี พอจะตคี วาม ได้ว่า ซือเขอะฟ่ะน่าจะเป็นภาษาสาเนียงไปหยี แต่ที่จริง คือ “เสือข่านฟ้า” ของไทน่ีเอง การเรียงคาตรงข้าม เช่น โกสามปยี (หัวเมืองไตท้ังเก้า) โกสัมพี หรือ โก๊ะล่อฝง ตรงข้ามกับผีล่อโก๊ะ ก็ไม่แปลกอะไรขึ้นกับ การเรียงความหมาย จะอ้างว่าอาณาจักรน่านเจ้า เป็นของไปหยีไม่ได้
คนไทในสุวรรณภูมิ
เครื่องมือเคร่ืองใช้หินกะเทาะสาหรับล่าสัตว์ใน จังหวัดกระบี่ แม่ฮ่องสอน กาญจนบุรี และสตูล๑๓๒ พบโบราณวตั ถทุ บี่ า้ นเชยี ง ๕.๗ - ๖.๗ kBP๑๓๓ พบโรงหลอ่ สมั ฤทธ์ิ และเศษผา้ ไหมในหลมุ ศพทบี่ า้ นเชยี ง อายุ ๖ kBP พร้อมลูกศรสัมฤทธ์ิอายุ ๕.๕ kBP พบหม้อสามขา อายุ ๕ kBP ที่สุราษฎร์ธานี เหมือนกับมาเลเซีย พบหม้อสามขาเหมือนจีนที่กาญจนบุรี๑๓๔ สุพรรณบุรี และชุมพร๑๓๕ พบกลองมโหระทึกที่ท่ามะกา และ หนา้ เขอื่ นเจา้ เณรกาญจนบรุ ๑ี ๓๖ แสดงวา่ คนไทในสวุ รรณภมู ิ ก็มีความเจริญไม่แพ้จีน
วัลลภา รุ่งศิริแสงรัตน์ ได้จัดมนุษย์โบราณใน ประเทศไทยรุ่นแรกอยู่ในตระกูลออสโตนีเชียน๑๓๗ ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของอินโด จาม ข่า ไทย และญวน
๑๒๖ เสมอชัย พูลสุวรรณ ล ด. หน้ํา ๗๘.
๑๒๗ ภัททิยํา ยิมเรวัติ, ประวัติศําสตร์สิบสองจุไท (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์, ๒๕๔๔), หน้ํา ๑๐๙.
๑๒๘ หลวงวิจิตรวําทกําร, ประวัติศําสตร์สํากล: ประวัติศําสตร์ไทย หน้ํา ๑๓.
๑๒๙ Yi Culture Under Scrutiny, http://www.china.org.cn/english/2000/Nov/4274.htm ,Retrieve 26 Dec 2009.
๑๓๐ Goeff Wade, “The Polity of Yelang and the Origin of Name China” p.17.
๑๓๑ เสมอชัย พูลสุวรรณ ล ด. หน้ํา ๓๘.
๑๓๒ ธนิก เลิศชําญฤทธิ์, ภําชนะดินเผํายุคก่อนประวัติศําสตร์ในประเทศไทย (นนทบุรี: สํานักพิมพ์มิวเซียมเพรส, ๒๕๖๐), หน้ํา ๑๙. ๑๓๓ สุรพล ดําหริกล, แผ่นดินอีสําน (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์เมืองโบรําณ, ๒๕๔๙), หน้ํา ๑๕.
๑๓๔ อุดม เชยกีวงศ์ ล ด. หน้ํา ๓๔-๔๑.
๑๓๕ ธนิก เลิศชําญฤทธิ์ ล ด. หน้ํา ๕๖-๖๐.
๑๓๖ ประทุม ชุมเพ็งพันธ์ ล ด. หน้ํา ๑๒๒ และ ๑๔๘.
๑๓๗ วัลลภํา รุ่งศิริแสงรัตน์ บรรพบุรุษไทย: สมัยก่อนสุโขทัยและสมัยสุโขทัย (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬําลงกรณ์มหําวิทยําลัย,) หน้ํา ๕
นาวิกศาสตร์ 64 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔