Page 64 - Demo
P. 64

 นายทหารชาวอังกฤษในปี ค.ศ.๑๘๙๕๑๑๔ สอดคล้องกับ ตานานสามเณรกินหัวไก่ และได้เป็นเจ้าเมือง ประมาณ คือ ๑๓๖ - ๘๔ BC สามเณรดังกล่าวน่าจะเป็นขุนลูหรือ ขุนไล ท่ีบวชตามคาแนะนาของสิกขาม่ิง (ขุนมิ่งมีศักด์ิ เป็นน้า)๑๑๕ ตามภาพท่ี ๑๗ ข้างต้น กลุ่มน้ีเป็นบรรพบุรุษ ฉานพบความเช่ือนับถือผีแม้แต่งานเลี้ยงกษัตริย์ต้อง
นาอาหารเซ่นไหว้ ยามตายมีมด (แม่มด) ทาพิธี เมืองข้างเคียงท่ีคณะทูตจากเมืองจีนเดินทางไปเยือนคือ ปะโทเมียว และหะลิงยี เป็นตานานอนุชาทรงพระสรวล เป็นทอง๑๑๗ รวมท้ังเมืองศรีเกษตรด้านล่าง โดยนา กลองมโหระทกึ มาดว้ ย ภายหลงั เลงดอนแยกไปปกครอง เมืองผีอิงคึ (แถนเยว่) จากยุคสาง เข้ายุคแสง วงศ์สางดา สางแดง เล่งดอน ครองเมืองผีอิงคึ ขุนลูขุนไลครองเมือง ฮา -ฮายราชวงศแ์ สงจบลงประมาณครสิ ศต์ วรรษที่๑๖๑๑๘
อาณาจักรสยาม ๒ แห่ง (๙๐ - ๑๒๑ AD)
หลงั ครสิ ตกาลมหี ลกั ฐานบนั ทกึ โดยฮน่ั ๑๑๙ “ในเดอื น มกราคม ปที ่ี ๙ รชั กาลหยง่ หยวน (ค.ศ. ๙๗) พวกหมน่ั และอี๋ และอาณาจักรสยาม ซ่ึงตั้งอยู่นอกหย่งชัง นาบรรณาการมาทรี่าชสานกัโดยตอ้งใชล้า่มหลายภาษา” และในจดหมายเหตุของจักรพรรดิอานได้บันทึกไว้ว่า๑๒๐ “ศกหย่งหนิงปีแรก (ค.ศ. ๑๒๐) ในเดือนธันวาคม อาณาจกั รเสยี ม อยนู่ อกหยง่ ชาง สง่ ทตู และบรรณาการ” ระบุกษัตริย์ช่ือ“ท้าวยง”(Diao–Yong-Dao)๑๒๑ นอกจากนใ้ี นหวั ขอ้ เรอื่ งจกั รพรรดซิ นุ่ “ในเดอื นธนั วาคม ปที ี่ ๖ รชั กาลหยง่ เจย้ี น (ค.ศ. ๑๓๑) อาณาจกั รเออ้ เตย่ี ว
และสยาม ซึ่งตั้งอยู่นอกร่ือหนาน (เวียดนาม) ส่งทูต และบรรณาการมา” จงึ ยนื ยนั ไดว้ า่ ชาวไทสรา้ งอาณาจกั ร สยาม ๒ แห่ง เส้นทางที่ผ่านยูนนานเป็นกลุ่มสยาม เมอื งมาว สอดคลอ้ งกบั ฟา้ - ขวญั - เมอื งทสี่ รา้ งบา้ นแปง เมืองจากสางดาไปสื้นสุดที่ฉาน ส่วนเส้นทางท่ีสองผ่าน หนานเยว่น่าจะเป็นกลุ่มสางแดงสร้างอาณาจักรสยาม
เชน่ กนั พบอาณาจกั รเสยี ม - หลอ (ศรโี พธ)ิ์
ที่ ๘ เสียมกุกในศตวรรษที่ ๑๒ ตามที่พบภาพสลักหิน นครวัด๑๒๓ เข้าสู่สยามจนถึงรัตนโกสินทร์ จะเห็นได้ว่า หลงั ยคุ อา้ ยลาวเกอื บ ๒๐๐ ปี ไทไดพ้ ฒั นาเปน็ รฐั สยามถงึ ๒ แควน้ ตามภาพที่ ๑๘ ทใี่ หญโ่ ตพอทจี่ ะดา เนนิ นโยบาย การทูตแบบ “จิ้มก้อง” กับจีนและนาศิลปะที่ถนัดคือ การดนตรีไปแสดงด้วย
อาณาจักรน่านเจ้า (๖๔๖ - ๑๒๖๐ AD) เป็นของไท มิใช่ของชาวไป่หยี
ชาวไท และอี้ อยู่ด้วยกันมานานมาก ไทอยู่ริม แมน่ า้ หลอ ออี้ ยรู่ มิ แมน่ า้ อ้ี จนี เรยี กไทวา่ “หลอ” ชาวอเ้ี รยี ก ตนเองว่า หลอหลอ ลั่ว (Luo คือเสือ) หรือโล้โล้ นับถือ หยิน-หยางเหมือนเกาหลีพวกอี้ตะวันตกพบมาก แถบแคว้นปา Yu Hongmo ศึกษาลวดลายหม้อดินเผา ทบ่ี า้ นปอ ภาษาอสี้ ามารถถอดความหมายในหมอ้ ดนิ เผา บ้านปอได้เกิน ๘๐ เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ภาษาฮ่ัน ทาไม่ได๑้๒๔
อาณาจกั รนา่ นเจา้ มอี าณาเขตกวา้ งขวาง เขตมณฑล ยูนนานทั้งหมดรวมแคว้นสิบสองปันนาด้วย๑๒๕
๑๑๖
๑๒๒
ในศตวรรษ
 ๑๑๔ ยศ สันตสมบัติ หลักช้ําง (กรุงเทพฯ: สํานักงํานมูลนิธิวิถีทรรศน์, ๒๕๔๒), หน้ํา ๕.
๑๑๕ จ้ําวหงหยิน, สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธ์ แปล, พงสําวดํารไท “เครือเมืองกูเมือง” หน้ํา ๓-๔.
๑๑๖ เสมอชัย พูลสุวรรณ รัฐฉํานเมืองไต (กรุงเทพฯ: ศูนย์มํานุษย์วิทยําสิรินทร, ๒๕๖๐) หน้ํา ๔๓
๑๑๗ หม่องทินอ่อง, เพชร สุมิตร แปล,ประวัติศําสตร์พม่ํา, หน้ํา ๗.
๑๑๘ จ้ําวพระยําธรรมแต้ (จ้ําวหงหยิน และสมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธ์ แปล), พงศวดํารเมืองไท: เครือเมืองกูเมือง (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ตรัสวิน, ๒๕๔๔), หน้ํา ๓๐. ๑๑๙ สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธ์ ล ด. หน้ํา ๔๔.
๑๒๐ สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธ์ ล ด. หน้ํา ๒๖.
๑๒๑ Bin Yang Ibid Chapter 3: p.3-4.
๑๒๒ เสนีย์อนุชิต ถําวรเศรษฐ (๒๕๔๗) สยํามประเทศไม่ได้เริ่มต้นที่สุโขทัย หน้ํา ๒๒
๑๒๓ ชําญวิทย์ เกษตรศิริ และคณะ “นี่ เสียมกุก SYAM KUK, ๒๕๔๕ กรุงเทพฯ: มูลนิธิตํารํามนุษยศําสตร์และสังคมศําสตร์ หน้ํา ๓๒-๓๖
๑๒๔ Stevan Harrell et al, The History of History of the YI, Part II, Modern China, Vol 29 No.3 July 2003 p.376.
๑๒๕ ธีรภําพ โลหิตกุล “คนไทในอุษําคเนย์” (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ประพันสําสน์ จํากัด, ๒๕๓๗) หน้ํา ๒๖
นาวิกศาสตร์ 63 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
 









































































   62   63   64   65   66