Page 62 - Demo
P. 62

 ในยคุ ฮนั่ ตะวนั ตกเรม่ิ จากสองออ๋ งผยู้ ง่ิ ใหญ่ หลวิ ปัง ชาวฮนั่ กบั เซย่ี งอ่ี (สางอ/ี่ สางย)ี่ ชาวไทจากหว้ ยครึ ว่ มมอื กนั ปราบฉนิ หลวิ ปงั ใชว้ ธิ นี มุ่ นวล สว่ นเซยี่ งอใ่ี ชว้ ธิ โี หดรา้ ย แมเ้ซย่ีงอจี่ะชนะไดร้บัการสถาปนาในชว่งแรกผลกัดนัให้ หลิวปังไปอยู่เสฉวน แต่ภายหลังหลิวปังที่ได้ใจชาวบ้าน พร้อมแม่ทัพไทแปรพักตร์ชื่อหาญซิ่น กลับมากอบกู้จน
ภําพที่ ๑๗ อําณําจักรอ้ํายลําว และตระกูลสํางดํา สํางแดง และสํางดิน (ประยุกต์จํากฟ้ํา – ขวัญ - เมือง สําหรับ Soft Power เจําะเวลําหําอ้ํายลําว)
ภําพท่ี ๑๘ อําณําจักรสยํามในปี ๙๐ - ๑๓๑ AD
เซยี่ งอฆี่ า่ ตวั ตายทแ่ี มน่ า้ มห่ี ลอ ยคุ ฮนั่ อตู่ ้ี หลงั ปี ๑๒๖ BC เคยสง่ ๔ทมี คน้ หาเสน้ ทางสายไหมใตแ้ ถบยนู นานแตถ่ กู แถนและเยวล่ า่ งกกั ตวั ถกู เผา่ ขนุ มง่ิ ปลน้ แตย่ งั แอบจา ลอง ขุดหนองแสในนครฉางอานเพื่อฝึกการรบทางเรือ๑๐๒ มุ่งมาปราบอ้ายลาว ซือหม่า เชียน ก็เคยมายูนนาน
อาณาจักรอ้ายลาว (๑๒๒ – ๘๗ BC) (ครั้งที่ ๒)
ประมาณปี ๑๒๒ BC ซือหม่า เชียน ในสื่อจี้ สรุป เผ่าต่าง ๆ ในบริเวณยูนนานว่า๑๐๓ “ท่ามกลางหลายเผ่า ทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน เยว่ล่างใหญ่ที่สุด ในกลุ่ม เหมียว (มิโม) มีแถนใหญ่ที่สุด เหนือแถนมีเผ่าเชียง ใหญ่สุด ทุกคนเกล้าผมขมวดปมท้ายทอย ทานาลุ่ม อาศัยในเมือง ห่างไปทางตะวันตก ทางตะวันออกของ ตงจื่อ เหนือเย่อวี่ คือเผ่าสุย และขุนมิ่ง เผ่านี้ถักผม เลี้ยงสัตว์ อีสานของสุยคือพวกสี (Xi) และจอก (Zou) อีสานของจอกคือรั่นกับมั่ง อยู่ทางตะวันตกของสู่ (เสฉวน) อีสานของรั่นม่ังคือพวกตี้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตก ของปา และสู่” วิเคราะห์ได้ว่า ขุนม่ิงและสุยเป็นกลุ่ม ภาษาจีน - ทิเบต ส่วนเยว่ล่าง แถน และเชียง เป็นกลุ่ม เผ่าไท - กะได ยืนยันการเกล้าผมเพิ่มด้วยการพบ กลองมโหระทึก และหม้อเก็บเบ้ียที่ยูนนาน๑๐๔ ทั้งน้ีรวม ลาวทอง และชาวปออยู่ตะวันตกของเยว่ล่าง อ้ายลาว กับภู อยู่ใต้ต้าหล่ีลงมาเล็กน้อย๑๐๕ และประยุกต์เมือง ต่าง ๆ ตามเส้นทาง Horse Silver Cowries๑๐๖ ของ Bin Yang ได้ตามภาพท่ี ๑๖ ซือหม่าเซี่ยงหรู ระบุในปี ๑๒๖ BC ว่าถังเมิ่งเกณฑ์ชาวปา สู่ และเผ่าข้างเคียง สร้างทางจากเมืองปอ ไปสางคึ (สางดิน) เพ่ือเตรียม โจมตีน่านเยว่ มีการทาโทษทหารแบบไร้ธรรมเนียม สร้างความเดือดร้อน ตื่นกลัว อีกทั้งช่วงนั้น ฮั่นอู๋ตี้ส่ง ๔ทมี สา รวจเสน้ ทางสายไหมดา้ นใต้กระทบตอ่ เมอื งเชยี ง
   ๑๐๒ Bin Yang Between Wind and Cloud Chapter 3: p.3-4
๑๐๓ Geoff Wade, “The Polity of Yelang and the Origins of name China”, p.21-25.
๑๐๔ ชลริธํา สัตยําวัฒนํา, “ด้ํา แถน กําเนิดไท, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ทํางอีศําน, ๒๕๖๑),” หน้ํา ๒๖๙-๒๗๘ ๑๐๕ Bin Yang, op. cit. Chapter I: p.10.
๑๐๖ Bin Yang, Horse Silver Cowries, p.1-22.
 นาวิกศาสตร์ 61 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
























































































   60   61   62   63   64