Page 61 - Demo
P. 61
อารยธรรมคล้ายอียิปต์ มีโคลีเซียม ตึก และพีระมิด จมใต้ทะเลสาบฟู่เสียน (Fuxian) ความลึก ๑๕๕ เมตร พื้นที่ ๘.๗ ตารางกิโลเมตร เชื่อมโยงพีระมิดเมืองสีอาน ที่จีนปลูกต้นสนปิดไว้ ไม่ยอมเปิดเผย ดูการเปรียบเทียบ ตามภาพที่ ๑๒ ที่สาคัญพบสัญลักษณ์อี้จิง สลักบนหิน บอกความเชื่อเรื่องเต๋า พบรอยเท้าสัตว์โบราณคล้ายม้า บนหนิ ๙๖ เมอื งรมิ ผานอี้ าจเปน็ เมอื งแถนในตา นานแมห่ ญงิ และต้นข้าว ที่อยู่บนผาริมทะเลสาบอู่วา ต้องไต่เถากาด ผ่าน “ตูฟ้า”๙๗ ขึ้นไป อยู่ไม่ไกลจากแถนใหม่ (Dian) ที่ขุนพลฉู่นาทัพไปปราบฉินแต่กลับฉู่ไม่ได้ จึงตั้งรกราก แต่งงานกับชาวแถน ใช้ประเพณีแถน ปกครองเมืองแถน นามว่า “สางเฉียว (Zhang Qio)” จนถึงสางเชียง ในปี ๑๐๙ BC
ราชวงศ์ฉิน หรือจ๋ิน (๒๒๑ BC) และอาณาจักรฮั่น ตะวันตก (๒๒๑ - ๘๗ BC)
นครลุงของไทถูกจิ๋นยึดครองมานาน ในปี ๗๗๑ BC พระเจ้าเว็นยาตราทัพออกจากนครลุงขับพวกอ้ี ต้ี และ ไปโจมตรี ฐั เจา้ ๙๘ ตอ่ มาจกั รพรรดจิ น๋ิ ซรี วมรฐั ทง้ั หมด และ ป ร า บ แ ด น ใ ต ้ ท งั ้ ฉ นิ แ ล ะ ฮ นั ่ ต ะ ว นั ต ก ใ ช น้ โ ย บ า ย ก ล นื ช า ต ิ ๒ วิธีคือ วิธี Hard Power โดยอพยพชาวฮ่ันช้ันสอง และนักโทษ มาตั้งรกรากแทนไทในหนานเยว่ พร้อมย้าย ไทหลอไปอยู่นครจ๊ก หรือเสฉวน๙๙ ในยุคฮั่นช่วงต้นมี นโยบายการทูตส่งหญิงไปแต่งงาน (Heqin) แต่ทูตเอี้ยน กลับล้ีภัยตามไปด้วย๑๐๐ ต้องหยุดโครงการ เมื่อซ่งหนู กวาดต้อนด้านเหนือแถบเอี้ยน สาง ไท และไทยวน ทุกปี (๑๒๗ - ๑๓๐ BC)๑๐๑ ฮ่ันอูตี้ก็อพยพคนไท และเผ่าอื่นไปเติม จนไม่เหลืออัตลักษณ์ความเป็นไท คงอยู่แต่ชื่อสถานที่และดีเอ็นเอคนไทที่ไม่สามารถ
ภําพที่ ๑๕ รําชวงศ์โจว (World Atlas of History)
ภําพที่ ๑๖ รัฐอ้ํายลําว (ประยุกต์ SSR: Bin Yang
เปล่ียนได้ จึงพบดีเอ็นเอในมองโกเลียเหมือนไท ส่วน นโยบายที่ ๒ ท่ีทามานานคือ Soft Power ใช้ความเชื่อ “หยาง” สยบ “หยิน” ของไท โดยเติมท้ายเมืองไท ด้วยหยาง เช่น ล่ัวเป็นลั่วหยาง เสียนเป็นเสียนหยาง ภูเป็นภูหยาง เอี้ยนเป็นเอี้ยนหยาง และเปลี่ยนชื่อเดิม เช่น “เมืองสาง” ท่ีมีแร่ทองแดงเป็น “ด่านหยาง”
๙๖ Sutherland ibid
๙๗ ภัททิยํา ยิมเรวัติ ล ด. หน้ํา ๓๘-๓๙.
๙๘ Burton Watson, op. cit. p.185
๙๙ กัญญํา ลีลําลัย ล ด. หน้ํา ๑๔๕
๑๐๐ Chin, Tamara T., “Defamiliarizing the Foreigner, Sima Qian’s Ethnography and Han-Xiongnu Marriage Diplomacy”, pp.324-326. ๑๐๑ Emperor Wu pp.21-30.
นาวิกศาสตร์ 60 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔