Page 77 - Demo
P. 77
คือ พยายามทาด้วยวิธีใดวิธีหน่ึงเพื่อให้ออกยามเร็วขึ้น “warm the bell” มีความหมายทานองเดียวกัน
flotsam and jetsam flotsam
คอื ขยะลอยนา้ หมายถงึ สงิ่ ของทพี่ บในทะเลอาจเกดิ จาก เรอื อบั ปาง หรอื สงิ่ ของทต่ี กลงจากเรอื ปจั จบุ นั ยงั หมายถงึ พืชหรือดอกไม้ และสัตว์ (flora and fauna) ต่าง ๆ ที่ถูกซัดข้ึนฝ่ัง เช่น เศษไม้ และสาหร่ายทะเล
ส่วน jetsam เป็นสิ่งของท่ีโยนลงทะเลโดยต้ังใจ อาจเปน็ เพราะตอ้ งการลดนา้ หนกั บรรทกุ ของเรอื หรอื การ ทิ้งขยะลงทะเล หรือลักลอบทิ้งของผิดกฎหมายลงทะเล
Flying Dutchman เรือผีสิง
เรือปีศาจหรือเรือผีสิง เป็นความเชื่อของชาวเรือ โบราณกลา่วกนัวา่มกัจะพบเหน็ในบรเิวณแหลมกดู๊โฮป เป็นเรือที่ถูกสาปให้ท่องทะเลไปเจ็ดย่านน้าโดยไม่มี วันสิ้นสุด ไม่สามารถเดินทางกลับบ้านได้ มักพบเห็น ในเวลาทมี่ หี มอกหนาจดั หรอื เหน็ แสงประหลาดซงึ่ ชาวเรอื เข้าใจว่าเรือผีสิงได้ส่งสัญญาณฝากข้อความไปยังคน รู้จักบนแผ่นดินใหญ่ กล่าวกันว่า HMS Bacchante เคยรายงานว่าได้เห็นเรือลาน้ีเม่ือตอน ๐๔.๐๐ น. ของ วันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ค.ศ. ๑๘๘๑
flying fish sailor
เป็นคาสแลงท่ีใช้ในเชิงไม่ค่อยดีต่อกะลาสี ที่บังเอิญโชคดีตลอดเวลาที่เขาอยู่ในทะเล เจอแต่
นาวิกศาสตร์ 76 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
ทะเลเรยี บ อากาศดี ในราชนาวอี งั กฤษหมายถงึ ในนา่ นนา้ มหาสมุทรอินเดีย
foul anchor สมอพันโซ่/เชือก
สมอพนั โซห่ รอื เชอื กหรอื สมอตดิ ขดั ขณะหะเบสสมอ ด้วยสาเหตุใด ๆ ก็ตาม สิ่งท่ีปรากฏกลายเป็นภาพ สัญลักษณ์ของกระทรวงทหารเรืออังกฤษและของ ราชนาวีอังกฤษ ต่อมาได้ปรากฏให้เห็นแพร่หลายท้ัง ในส่วนของกองทัพเรือและชาวเรือโดยทั่วไป แต่สาหรับ ชาวเรอื ทแี่ ทจ้ รงิ แลว้ เปน็ ปรากฏการณท์ บี่ างครงั้ เรยี กวา่ ความอับอายขายหน้าของกะลาสี (sailor's disgrace) เพราะแสดงถึงความสะเพร่า หรือความอ่อนหัดทาง ด้านการเรือ(seamanship)เดิมเป็นตราเครื่องหมาย ของ Lord Howard of Effington ในปี ค.ศ. ๑๖๐๑ เมื่อเขาดารงตาแหน่ง Lord High Admiral และได้ใช้ เป็นเคร่ืองหมายของทหารเรือ
free the slide
สแลงท่ีใช้บนโต๊ะอาหาร หมายถึง ขอร้องให้ช่วย ส่งเนยมาให้ (pass the butter, please)
Friday while
สแลงดง้ั เดมิ ของราชนาวกิ โยธนิ องั กฤษทไี่ ดห้ ยดุ ยาว วันสุดสัปดาห์ (long weekend leave)