Page 238 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 238

A3-205
19th HA National Forum
  ผศ.ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์
สถานการณป์ จั จบุ นั เกยี่ วกบั การเลอื กผลติ ภณั ฑย์ าของโรงพยาบาลตอ้ งการคณุ ภาพยาทด่ี มี ากพอทจี่ ะใหผ้ ลการรกั ษาทด่ี ีมคี วามปลอดภยั ที่ยอมรับได้ และมีราคาที่เหมาะสม แต่ด้วยข้อจากัดต่างๆ เช่น จานวนผู้สูงอายุท่ีเพ่ิมสูงข้ึน งบประมาณที่มีจากัด ส่งผลให้ในการคัดเลือกยาเข้าบัญชี ยาในแตล่ ะโรงพยาบาล บางครง้ั คา นงึ ถงึ ราคายาจนมผี ลตอ่ ประสทิ ธภิ าพของยาและความปลอดภยั ในการใชย้ า รวมทงั้ การกา หนดราคากลางของยา ในการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐทาให้มีแนวโน้มท่ีจะทาให้เกิดการใช้ผลิตภัณฑ์ยาสามัญที่มีราคาสมเหตุสมผลมากขึ้น
ประเทศไทยใหค้าจากดัความยาสามญั (genericdrugs)หมายถงึยาทมี่สีตูรตวัยาสาคญั (activeingredients)และรปูแบบยา(dosage) เหมอื นกบั ยาตน้ แบบ (original drugs) ใชเ้ ปน็ คมู่ อื ในการขนึ้ ทะเบยี นตา รบั ยาสามญั ในประเทศไทย ไมค่ รอบคลมุ ถงึ ราคายา ตามที่ WHO ไดใ้ หจ้ า กดั ครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ของยาสามัญต้องมีราคาถูกกว่ายาต้นแบบค่อนข้างมากซึ่งในคาจากัดความของประเทศไทยไม่ได้ระบุไว้
ประสิทธิภาพของยา (drug product performance) หมายถึง ยา 2 ยี่ห้อที่มีตัวยาสาคัญตัวเดียวกัน มีรูปแบบยาเหมือนกัน เม่ือยาเข้า สู่ร่างกาย แล้วแสดงค่าการละลาย (dissolution profile) และ ชีวสมมูลของยา (bioequivalence) เท่าเทียมกัน จะถือว่าผลิตภัณฑ์ยาสามัญน้ัน มีความเทียบเท่าหรือเท่าเทียมกับผลิตภัณฑ์ยาต้นแบบ
การเปรยี บเทยี บความเทา่ เทยี มกนั ของประสทิ ธภิ าพยา ดไู ดจ้ ากเมอ่ื เทยี บระดบั ยาในเลอื ดสงู สดุ จากจดุ ทผี่ ปู้ ว่ ยไมม่ ยี าเลย มอี ตั ราการดดู ซมึ ยา (C max) และปรมิ าณยาทเี่ ขา้ สรู่ า่ งกายมนษุ ยใ์ นระยะเวลาทเี่ ทา่ กนั (AUC) ทงั้ 2 Parameter นตี้ อ้ งมคี วามตา่ งจากยาตน้ แบบไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 20 จงึ จะ มีคุณสมบัติที่สามารถขึ้นทะเบียนเป็นยาสามัญได้ ประเด็นสาคัญคือ ช่วงความแตกต่างดังกล่าวเหมาะสมกับทุกโรค และ/หรือ กับยาทุกชนิดหรือไม่
ศ.นพ.อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์
Safety Concerning of Switching Between Original and Generic Drugs : AED as an Example
ในสมยั กอ่ นประเทศไทยเรยี กโรคลมชกั วา่ “ลมบา้ หม”ู และมที ศั นคตติ อ่ โรคลมชกั วา่ เปน็ โรคทร่ี กั ษาไมห่ าย โรคลมชกั เปน็ โรคเรอื้ รงั ปจั จบุ นั มปี ระชากรทว่ั โลกประมาณ 50 ลา้ นคนเปน็ โรคลมชกั ประมาณรอ้ ยละ 80 ของผทู้ เี่ ปน็ โรคลมชกั อาศยั อยใู่ นประเทศทกี่ า ลงั พฒั นา โดยมผี เู้ ปน็ โรคลม ชักร้อยละ 75 ที่เข้าไม่ถึงการรักษา และได้รับความทุกข์ทรมานจาก การถูกตีตรา (stigma) และการเลือกปฏิบัติ (discrimination)
สา หรบั ประเทศไทย ยงั ไมม่ รี ายงานบตุ กิ ารณก์ ารเกดิ โรค มกี ารศกึ ษาความชกุ ของโรคลมชกั ในประเทศไทย เมอื่ 2 ปกี อ่ น พบอตั ราความชกุ 5.9 ต่อประชากรพันคน ปัจจุบันประมาณการว่ามีคนไทยอย่างน้อย 5 แสนคน เป็นโรคลมชัก การรักษาโรคลมชักในประเทศไทยมีขีดความสามารถ เทียบเท่ามาตรฐานต่างประเทศท้ังการผ่าตัดและการใช้ยากันชัก (antiepileptic drugs, AED)
ยากันชักทีไ่ด้รับการพัฒนาในช่วงเวลาทีผ่่านมา
หลกั การใชย้ ากนั ชกั ในมมุ มองของกมุ ารแพทยท์ ม่ี ปี ระสบการณก์ ารรกั ษาโรคลมชกั ยากนั ชกั ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาในชว่ งเวลาทผ่ี า่ นมา แนะนา ให้ใช้ยาดั้งเดิม 4-5 ตัว ได้แก่ Phenobarbital, Phenytoin, Benzodiazepines, Carbamazepine และ Sodium Valproate ซ่ึงเหมาะสมกับ บริบทของประเทศไทย
แนวทางการเลือกยากันชัก ตามลักษณะอาการชัก
แนวทางการเลอื กยากนั ชกั ในกลมุ่ ยาดง้ั เดมิ ถา้ ผปู้ ว่ ยมาดว้ ยอาการ Partial Seizure ยาทคี่ วรเลอื กใช้ ไดแ้ ก่ Carbamazepine, Phenytoin และ Phenobarbital
ข้อพิจารณาในการเลือกยาทีเ่หมาะสมกับผู้ปว่ยแต่ละคน
โดยทั่วไปพิจารณาจากลักษณะหรือรูปแบบอาการชัก ประสิทธิผลของยาต่ออาการชัก หรือกลุ่มอาการโรคลมชักน้ันๆ อายุของผู้ป่วย โดยเฉพาะในเด็กและผู้สูงอายุ ความสะดวกหรือความถ่ีในการบริหารยา อาการไม่พึงประสงค์และผลข้างเคียงท่ีอาจเกิดจากยา ปฏิกิริยาระหว่างยา โรคหรือความเจ็บป่วยอ่ืนๆ ทัศนคติและความต้องการของผู้ป่วย บิดามารดาหรือผู้ปกครอง และค่าใช้จ่าย ซึ่งหากแพทย์วินิจฉัยอาการได้และเลือกยา ได้เหมาะสมจะสามารถรักษาผู้ป่วยได้ถึง ร้อยละ 60-70
 238   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

















































































   236   237   238   239   240