Page 240 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 240

A3-205
19th HA National Forum
 ห า ก แ พ ท ย ว์ นิ จิ ฉ ยั อ า ก า ร ช กั ไ ด ถ้ กู ต อ้ ง เ ล อื ก ใ ช ย้ า ไ ด เ้ ห ม า ะ ส ม จ า ก ก า ร ศ กึ ษ า พ บ ว า่ ม ผี ป้ ู ว่ ย ม า ก ก ว า่ ร อ้ ย ล ะ 7 0 ท ส่ ี า ม า ร ถ ค ว บ ค มุ อ า ก า ร ช กั ไ ด ้ ดดี ว้ ยการใชย้ าและการหลกี เลยี่ งสงิ่ กระตนุ้ มเี พยี งรอ้ ยละ 15 ทค่ี วบคมุ อาการชกั ไมไ่ ด้ จา เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยวธิ อี น่ื ๆ รว่ มดว้ ย เชน่ การผา่ ตดั ผลลพั ธก์ ารรกั ษาทดี่ ี ขนึ้ อยกู่ บั หลายปจั จยั การวนิ จิ ฉยั และการใชย้ าทถ่ี กู ตอ้ ง เปน็ สว่ นสา คญั ทชี่ ว่ ยใหผ้ ลการรกั ษาทดี่ ี นอกจากนยี้ งั มปี จั จยั ด้านอายุของผู้ป่วย และพันธุกรรม โรคร่วมต่างๆ ที่มักพบในผู้ป่วยโรคลมชัก ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล อาการทางจิต สมาธิส้ัน และปัญหาทาง
พฤติกรรมต่างๆ การเลือกใช้ยากันชักที่เหมาะสม จะช่วยให้ผู้ป่วยปลอดอาการชักและมีกลุ่มอาการหลายอย่างท่ีสามารถหายขาดได้
การปรับเปลีย่ นการใช้ยาทดแทน จากยาต้นแบบ (original AEDs ) เป็นยาสามัญ (generic AEDs)
ในการเริ่มรักษาโรคลมชักการปรับเปล่ียนยากันชัก (AED switch) มีทั้งการเปล่ียนจากยาต้นแบบเป็นยาสามัญ หรือการเปลี่ยนย่ีห้อยา ต้นแบบ ปัญหาท่ีมักพบในการปรับเปลี่ยนยา คือ การควบคุมอาการชักไม่ได้ ชักถี่ขึ้น เกิดการแพ้ยา ต้องมารับการรักษาในโรงพยาบาลบ่อยขึ้น
Switching Between Original and Generic Antiepileptic Drugs
ในการปรบั เปลยี่ นยา สงิ่ สา คญั ทตี่ อ้ งคา นงึ ถงึ คอื ความปลอดภยั และประสทิ ธภิ าพในการรกั ษาตอ่ ผปู้ ว่ ย มกี ารศกึ ษาการใชย้ าในโรคลมชกั ในตา่ งประเทศมากมาย พบวา่ มคี วามแตกตา่ งในรายงานการศกึ ษาตา่ งๆ ทา ใหย้ ากตอ่ การสรปุ ผลนา ไปใช้ ทงั้ ความแตกตา่ งของแหลง่ ทมี่ าของขอ้ มลู และการศึกษา ชนิดยากันชักท่ีศึกษามีความแตกต่างกัน ยาสามัญที่แตกต่างกันในแต่ละรายงาน ความแตกต่างของบริบทในแต่ละประเทศ อายุและ สาเหตุ ความยากง่ายในการควบคุมอาการจากโรคลมชัก
ข้อควรระวังด้านความปลอดภัยในการปรับเปล่ียนยากันชัก คือ ปัจจัยสาคัญ มาตรฐานยาสามัญ และกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ต้อง ใหค้ วามสา คญั และคา นงึ ถงึ ความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ย โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยเดก็ ผปู้ ว่ ยกลมุ่ อาการโรคลมชกั จา เพาะ ผปู้ ว่ ยทม่ี ปี ระวตั คิ วบคมุ อาการไดย้ าก และสามารถควบคุมได้ในการรักษาปัจจุบัน กลุ่มอาการโรคลมชักที่พยากรณ์โรคดีมีโอกาสหายขาด ผู้ป่วยที่มีโรคร่วม (co-morbidity) ซึ่งเก่ียวข้อง กับการเกิดอาการชัก ผู้ป่วยกลุ่มจาเพาะที่จะได้รับผลกระทบรุนแรงถ้าเกิดอาการชัก องค์การอนามัยโลก (WHO) ต้องการเพิ่มการเข้าถึงบริการและ ลดการตีตรา โดยให้มี
นโยบายสนับสนุนการเข้าถึงบริการและออกกฎหมายปกป้องสิทธิมนุษยชนแก่ผู้เป็นโรคลมชัก และส่ิงสาคัญ คือ มาตรฐานยาสามัญใน ประเทศไทย
ผศ.ธนรัตน์ สรวลเสน่ห์
ความแตกต่างระหว่างยาต้นแบบ (original drugs) กับยาสามัญ (generic drugs)
การขึ้นทะเบียนยาในประเทศไทย ท้ังยาใหม่ (new drugs) และยาสามัญ (generic drugs) ทุกผลิตภัณฑ์ต้องแสดง คุณสมบัติทางเคมี กระบวนการผลิต การควบคุมคุณภาพ ฉลาก บรรจุภัณฑ์ ส่ิงท่ีแตกต่างกันคือ ยาใหม่ (new drugs) ต้องมีผลการศึกษาในสัตว์ทดลอง ผลทดลอง ทางคลนิ กิ ในมนษุ ย์ ขอ้ มลู ชวี อนเุ คราะห์ ยาทใี่ ชอ้ ยทู่ กุ ชนดิ ผา่ นกระบวนการตามนี้ การขนึ้ ทะเบยี นยา สา หรบั ประเทศไทยยาทไี่ ดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี น แล้วเป็นทะเบียนยาตลอดชีพ การใช้ยาประเด็นสาคัญ คือ การรักษาคุณภาพของการใช้ยา ดังนั้นเภสัชกรแต่ละโรงพยาบาลต้องตรวจสอบคุณภาพ ของยาทนี่ า เขา้ มาใชใ้ นโรงพยาบาลวา่ เปน็ ยาทไี่ ดค้ ณุ ภาพมาตรฐานหรอื ไม่ ตอ้ งดา เนนิ การกา หนดมาตรฐานในการใชย้ าในโรงพยาบาล สว่ นยาสามญั (generic drugs) มเี พยี งขอ้ มลู ชวี สมมลู ทใี่ ชส้ า หรบั เปรยี บเทยี บความเทา่ เทยี มกนั ของคณุ ภาพยาสามญั กบั ยาตน้ แบบ ยาสามญั ทใี่ ชอ้ ยปู่ จั จบุ นั มคี วาม แปรปรวนในเร่ืองประสิทธิภาพยาต่างจากยาสามัญได้ ร้อยละ 20
ในปัจจุบันยากันชักเกือบทุกตัวขึ้นทะเบียนอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ประสิทธิภาพในการรักษากรณีโรคลมชักที่ไม่เคยได้ยามาก่อน การ เร่ิมยาโดยใช้ยาสามัญจะพบว่าประสิทธิภาพใกล้เคียงกันกับยาต้นแบบ แต่จากการศึกษาพบว่า ถ้ามีการเปลี่ยนยี่ห้อยา หรือเปลี่ยนจากต้นแบบไป เป็นยาสามัญ จะสร้างปัญหาในการรักษา เช่น ความสามารถควบคุมอาการชักไม่เท่าเดิม เกิดอาการข้างเคียงมากขึ้น ดังนั้นปัญหาในการใช้ยากันชัก ในปัจจุบันจะเกิดขึ้นเม่ือมีการเปลี่ยนยาจากยาต้นแบบเป็นยาสามัญ หรือการเปล่ียนยี่ห้อยาต้นแบบ ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการมีข้อจากัดบางอย่างของ ยาในประเทศไทย
ผู้ป่วยที่ต้องเปลี่ยนจากยาสามัญกลับมาใช้ยาต้นแบบใหม่อีกรอบ (switchback rates) มีจานวนสูงขึ้น โดยเฉพาะยาที่ออกฤทธิ์ในระบบ ประสาทสว่ นกลาง เกดิ จากยากนั ชกั ทกุ ตวั มคี ณุ สมบตั ใิ นการละลายนา้ แตกตา่ งกนั ยากนั ชกั ทม่ี ใี ชใ้ นประเทศไทยปจั จบุ นั มคี ณุ สมบตั กิ ารละลายนา้ ไม่ ดี (low water solubility) ตัวอย่างยาท่ีมีคุณสมบัติการละลายน้าไม่ดี เช่น Phenytoin ปัจจุบันยาสามัญทุกยี่ห้อในไทยเป็น Immediate Release ในขณะที่ยาต้นแบบ เป็น Extended Release ส่งผลให้เม่ือเปล่ียนยาจากยาต้นแบบเป็นยาสามัญหรือเปล่ียนยี่ห้อยามีความสาคัญมากเพราะอาจ ทาให้ผู้ป่วยได้ปริมาณยาลดลง ควบคุมอาการชักไม่ได้
 240   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)



















































































   238   239   240   241   242