Page 242 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 242

 A4-205
Clinically Significant Drug-Drug Interaction : From Prescribing to Dispensing & Administration
 ถ้อยคา
ท่ีเป็นแรงบันดาลใจของเร่ือง
“บุคลากรทางสาธารณสุขทุกคนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปญัหาการ แก้ปญั หาเรือ่ งยาตีกัน (Drug interaction) เป็นภาวะแทรกซ้อนทีส่ ามารถปอ้ งกันได้ เพราะหากปล่อยให้เกิด ปญัหาขึน้แล้วจะทาให้สูญเสียกาลังคน
     วิทยากร
ผู้ถอดบทเรียน ตําาแหน่ง
วันที่และเวลา
บทนา
กาลังทรัพย์ในการรักษามากมาย”
นพ.ศาศวัต วิริยะประสิทธ์ิ (ผู้ช่วยผู้อําานวยการ โรงพยาบาลสมุทรสาคร)
ภก.มานัส สิทธิชัย (เภสัชกรชําานาญการด้านเภสัชกรรมคลินิก โรงพยาบาลสมุทรสาคร) อ.ภก.ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์ (อาจารย์ประจําาภาควิชาเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล)
กาญจนา เสนะเปรม
หัวหน้างานพัฒนาระบบบริการพยาบาล (ฝ่ายการพยาบาล) โรงพยาบาลราษฎร์บูรณะ
14 มีนาคม 2561 เวลา 15.00 น. - 16.30 น. ห้อง Sapphire 205
  ยาตีกัน (Drug interaction) หมายถึง อันตรกิริยาระหว่างยาที่รับประทานพร้อมกันตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป จะมีผลให้ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ของยาชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลให้ประสิทธิภาพของยาลดลงหรือมากขึ้นจนเกิดอันตรายต่อผู้ป่วย หรือทาให้การรักษานั้นไม่ได้ผล ดังนั้นหาก แพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์มีความตระหนัก ระมัดระวังการบริหารจัดการป้องกัน Drug interaction ไม่ให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายจากการใช้ยา ผลลัพธ์การรักษาดี ลดภาระค่าใช้จ่าย ลดจานวนวันนอนของผู้ป่วย และลดภาระงานของบุคคลากรทางการแพทย์



















































































   240   241   242   243   244