Page 243 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 243
A4-205
19th HA National Forum
อ.ภก.ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์
การออกฤทธ์ิของยาในร่างกายเกิดได้ 2 แบบคือ
1. เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetic)
คอื กระบวนการจดั การตา่ งๆทเี่ กยี่ วกบั ยา เมอื่ รา่ งกายไดร้ บั ยาเขา้ สรู่ า่ งกาย ซงึ่ จะประกอบไปดว้ ย 4 ขนั้ ตอน คอื การดดู ซมึ (Absorption) การกระจายยา (Distribution) กระบวนการเผาผลาญ (Metabolism) และการขับยาออกจากร่างกาย (Excretion) นิยมเรียกอย่างย่อว่า ADME
A - Absorption มกี ารเขา้ ไปเปลย่ี นแปลงคา่ pH ในกระเพาะอาหาร การเกดิ Drug Interaction กรณเี ชน่ การดดู ซมึ ยา Ketoconazole ลดลงเม่ือใช้ร่วมกับยา antacids เนื่องจากยาจะออกฤทธ์ิได้ดีในสภาพที่เป็นกรดเป็นต้น
D – Distribution การแย่งจับโปรตีนท่ีจับกับยา ทาให้เกิดความเป็นกรดหรือเป็นด่างมากเกินไป ไม่สมดุลทาให้เกิดความเป็นพิษหรือ อาการข้างเคียงขึ้น ตัวอย่างยาเช่น Glipizide, Phenytoin, Warfarin, Valproic acid เป็นต้น
M – Metabolism การดูดซึมยาเข้าสู่ร่างกาย แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ
1. ร่างกายไม่สามารถกาจัดออกได้ยาจะสะสม ทาให้ได้ยามากเกินความจาเป็น เกิดผลเสียต่อร่างกาย
2. ร่างกายสามารถกาจัดออกได้จะถูกส่งไปที่ตับหรือไตเพื่อกาจัดออกไป
ปัญหาในกระบวนการกาจัดยาออกจากร่างกายมักเกิดขึ้นกับ CYP enzyme (Cytochrome P450 enzyme) ในกระบวนการ Metabo-
lism - Oxidation (Mono-oxygenase) เช่น CYP1A2,CYP2C9,CYP2C19 เป็นยาเหนี่ยวนาการทางาน ส่วน CYP2D6, CYP3A4 กลับเป็นยายับยั้ง การทา งาน ผลกระทบจากการเหนยี่ วนา การทา งานของ CYP enzyme มกั จะใชเ้ วลาทน่ี านกวา่ การยบั ยงั้ เพราะฉะนนั้ การปรบั ขนาดยาในแตล่ ะชว่ ง เวลาจงึ มคี วามสา คญั เพอื่ ใหเ้ กดิ ความพอดกี บั ระยะเวลาการออกฤทธข์ิ องยา ผใู้ หย้ าจงึ ตอ้ งมคี วามรเู้ รอ่ื งการออกฤทธขิ์ องยาทเี่ หนยี่ วนา หรอื ยบั ยงั้ การ ทางานของ CYP enzyme เช่นยา Omeprazole เมื่อใช้ร่วมกับยา Clopidogrel ทาให้ผู้ป่วยมีโอกาสเกิด Acute Pulmonary syndrome เป็นต้น
E - Excretion การขับยาออกจากร่างกาย ยาส่วนใหญ่สามารถขับออกทางปัสสาวะ (Renal excretion) ต้องมีความสมดุลของการ กรองของไต (Glomerular infiltration) การขับทิ้ง (Tubular secretion) และการดูดกลับ (Tubular reabsorption)
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 243