Page 244 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 244
A4-205
19th HA National Forum
2. เภสัชกลศาสตร์ (Pharmacodynamics)
หมายถึง การออกฤทธ์ิของยาต่อร่างกาย หรือผลของยาที่เกิดต่อร่างกายในแต่ละส่วน ได้แก่ เสริมฤทธ์ิกัน (Synergistic หรือ Additive) และต้านฤทธิ์กัน (Antagonistic)
กรณีศึกษาท่ี 1
หญิงไทย อายุ 65 ปี มีประวัติเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว มาพบแพทย์ตามนัดที่คลินิกอายุรกรรม และ บ่นว่าช่วง 2 วันท่ีผ่านมามีรอยจ้าเลือดขึ้นตามแขนร่วมกับปัสสาวะมีเลือดปน
รายการยาท่ีผู้ป่วยรับประทาน : Carvedilol, Simvastatin, Metformin, Metronidazole และ Warfarin
Drug interaction : Metronidazole และ Warfarin
เนื่องจาก metronidazole ยับยั้ง CYP2C9 enzyme ซึ่งเป็น enzyme ที่ใช้กาจัด S-warfarin ทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะเลือดออก
การจดั การ : ลดขนาดยา Warfarin 30-35% ในระหวา่ งทรี่ บั ประทาน Metronidazole หรอื เลยี่ งไปใชย้ าปฏชิ วี นะอนื่ ทสี่ ง่ ผลตอ่ Warfarin
น้อยกว่า เช่น Amoxicillin
กรณีศึกษาท่ี 2
อายุ 35 ปี เป็น มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และวัณโรค มาพบแพทย์ตามนัด ภายหลังการรักษาวัณโรคเสร็จ 1 สัปดาห์ พบว่ามีอาการใจสั่น เหงื่อออกมือ หิวบ่อยกว่าปกติ 2 - 3 วัน
รายการยาที่ผู้ป่วยรับประทาน :Enalapril, Glibenclamide, Metformin และ Rifampicin
Drug interaction : Glibenclamideและ Rifampicin
เน่ืองจาก rifampicin ซ่ึงเป็นยารักษาวัณโรค ท่ีมีคุณสมบัติเป็น CYP3A4 inducer จึงทาให้การกาจัดยา Glibenclamide ลดลง ทาให้มี
ยาในกระแสเลือดมากข้ึนกว่าเดิม (4 เท่า) อาจทาให้ผู้ป่วยรายนี้เกิดอาการ hypoglycemia
การจัดการ : ติดตามอาการหลังจากหยุดยา Rifampicin ภายใน 1 สัปดาห์ และลดขนาดหรือหยุดยา Glibenclamide ตามระดับน้าตาล
ในเลือดตามความเหมาะสม
กรณีศึกษาท่ี 3
ชายไทย อายุ 35 ปี มีประวัติเป็นโรคลมชัก (Partial seizure) เดิมรักษาด้วยยา Depakine EC 3 วันที่ผ่านมาผู้ป่วยเข้ารักษาตัวที่ โรงพยาบาลด้วยอาการปอดติดเช้ือ ได้รับการรักษา Empirical therapy ด้วย Meropenemทางหลอดเลือดดาทุก 8 ชั่วโมง ร่วมกับ Vancomycin ทางหลอดเลือดดาทุก 12 ชั่วโมง วันน้ีผู้ป่วยเร่ิมเกิดอาการชักเกร็งกระตุก
Drug interaction : Meropenem และ Vancomycin สามารถลดระดับยา Valproicacid ได้ ปัญหายาตีกันเริ่มตั้งแต่ภายใน 24 ชั่วโมง แรกของการใช้ยาร่วมกัน อาการชักเกร็งกระตุกซ่ึงอาจเกิดจากการที่ระดับยา Valproicacid ลดลง
244 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)