Page 246 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 246

A4-205
19th HA National Forum
  นพ.ศาศวัต วิริยะประสิทธิ์
อายุรแพทย์โรคระบบทางเดินอาหาร หัวหน้าศูนย์พัฒนาคุณภาพ ประธานคณะกรรมการควบคุมเชื้อดื้อยาและผู้ช่วยผู้อานวยการ โรงพยาบาลสมุทรสาครอธิบายเกี่ยวกับเชื้อ Helicobacter pylori (H. Pylori) ในลาไส้ซึ่งเป็นเช้ือโรคชนิดหนึ่งที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุก่อให้เกิด หลายโรคในกระเพาะอาหาร เป็นตัวต้ังต้นของโรคมะเร็งกระเพาะอาหาร จึงต้องป้องกันมิให้เกิดเช้ือน้ีข้ึนในร่างกาย และเมื่อเกิดเชื้อนี้ขึ้นในร่างกาย ต้องรีบให้การรักษาทันที
ผู้ป่วยที่ควรได้รับการตรวจหาเชื้อ H. Pylori และรับการรักษา
1. ผู้ป่วยโรคแผลเปปติก ( Peptic ulcer ) หรือ ผู้ป่วยที่มีแผลถลอกในกระเพาะอาหาร (Gastric erosions)
2. ผู้ป่วยท่ีรับประทานยา NSAID (Nonsteroidal anti-inflammatory drug) หรือยา Aspirin เป็นระยะเวลานาน ร่วมกับมีประวัติโรค แผลเปปติก หรือมีปัจจัยเสี่ยงหลายอย่างของการเกิดเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน เช่น ผู้ป่วยท่ีมีอายุมากกว่า 65 ปี
3. ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งต่อมน้าเหลืองชนิด Marginal zone B-cell lymphoma (MALT lymphoma)
4. ผู้ที่มีอาการ dyspeptic และ ไม่ตอบสนองต่อยาต้านการหลั่งกรด (antisecretory drug)
5. ผู้ป่วยที่มีญาติสายตรง (1st degree relative) เป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร
6. ผู้ที่เป็นมะเร็งกระเพาะอาหาร
ในปี พ.ศ. 2558 มีงานวิจัยเรื่องอัตราเชื้อดื้อยาพบว่า
• อัตราเช้ือด้ือยาของ H. pylori ต่อเมโทรนิดาโซล (Metronidazole) 35%
• อัตราเชื้อดื้อยาของ H. pylori ต่อคลาริโทรมัยซิน (Clarithromycin) 18%
• อัตราเชื้อดื้อยาของ H. pylori ต่อฟลูโอโรควิโนโลน (Fleuoroquinolone) 16%
ผลลัพธ์เหล่าน้ีต้องนามาใช้ประกอบการพิจารณาใช้แนวทางการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยที่มีการติดเช้ือ H. Pylori
แนวทางเวชปฏบิ ตั ใิ นการวนิ จิ ฉยั และการรกั ษาผปู้ ว่ ยทม่ี กี ารตดิ เชอื้ H. Pylori (สมาคมโรคระบบทางเดนิ อาหารแหง่ ประเทศไทย) แพทยจ์ ะ พิจารณาใช้แนวทางใด ข้ึนอยู่กับความไวของยาต่อเชื้อที่ต้องการรักษาจากข้อมูลพื้นฐานของประเทศนั้นๆ การตอบสนองต่อยาแต่ละชนิด ปฏิกิริยา ระหว่างยาแต่ละตัวกับยาท่ีผู้ป่วยรับประทานอยู่ และ มาตรการการจัดการยาของแต่ละโรงพยาบาล โดยท่ีเกิดผลอันไม่พึงประสงค์ต่อผู้ป่วยน้อย ที่สุด ดังเช่น
1. Sequential Therapy 1st line therapy 10 วัน
2. Concomitant Therapy 1st line therapy 10 วัน
3. 2nd line Quadruple Therapy 14 วัน
4. 2nd line Levofloxacin based sequential Therapy 10 วัน 5. 2nd line Levofloxacin based concomitant Therapy 5 วัน
ทางเลือกในการจัดการ Fatal Drug Interaction
 246   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)












































































   244   245   246   247   248