Page 245 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 245
A4-205
19th HA National Forum
ภก.มานัส สิทธิชัย
แบ่งปันประสบการณ์ในการบริหารจัดการเร่ือง Fatal Drug Interaction (Contraindication) ในโรงพยาบาลสมุทรสาคร ซึ่งลดอุบัติ การณ์หรือเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ท่ีสามารถป้องกันได้จากการใช้การจัดการคู่ยา Fatal Drug Interaction ในผู้ป่วยท่ีมารับบริการท่ีโรงพยาบาล สมุทรสาคร
เพื่อป้องกันอุบัติการณ์หรือเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ที่สามารถป้องกันได้จากการใช้ยาท่ีมีคู่ยาท่ีเกิดปฏิกิริยาระหว่างยา (Drug Interaction) ซ่ึงอาจเกิดขึ้นได้ง่าย และเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยร้ายแรง คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบาบัด (PTC) โรงพยาบาลสมุทรสาครจึง จัดทารายการคู่ยาท่ีทาให้เกิด Fatal drug interaction ที่ห้ามใช้ร่วมกันกาหนดบัญชีรายการยาจากฐานข้อมูลของโรงพยาบาลอ้างอิงหลักฐานทาง วิชาการว่าถ้าใช้กับผู้ป่วย อาจเกิดอันตรายรุนแรงกับผู้ป่วยถึงแก่ชีวิต และ/หรือเคยเกิดอันตรายรุนแรงกับผู้ป่วยในโรงพยาบาล สื่อสารเป็นนโยบาย โรงพยาบาลจากผู้บริหารไปยังองค์กรแพทย์
การจัดการ Fatal Drug Interaction: ยาที่ห้ามสัง่ ใช้เด็ดขาด
1. นาเร่ืองเข้าประชุมองค์กรแพทย์ พร้อมติดประกาศท่ีสานักงานแพทย์จัดทา Fatal Drug Interaction request form.
2. นาเอกสารไปแจ้งเวียนให้แพทย์รับทราบพร้อมลงชื่อ
3. สื่อสารผ่านโปรแกรมไลน์ของกลุ่มแพทย์
4. กรณีมีแพทย์ต้องการใช้รายการยาที่เป็น Fatal Drug Interactionให้ขออนุมัติผ่านผู้บริหาร
จากการติดตามการปฏิบัติตามนโยบาย พบว่ามีแพทย์ขออนุมัติใช้ยาที่เป็นคู่ยา Fatal Drug Interaction น้อยมาก ซึ่งทาให้การเกิดอุบัติ
การณ์ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยท่ีรับยาที่เป็นคู่ยา Fatal Drug Interaction เป็น 0 มีระบบเตือนบนจอคอมพิวเตอร์เมื่อมีการส่ังจ่ายยาท่ีเป็นคู่ยา Drug Interaction (DI) ทั้ง Fatal DI และ Non-fatal DI ย้อนกลับให้แพทย์พิจารณาทบทวนการสั่งยาอีกครั้ง
- กรณีที่เป็นคู่ยา Non-fatal DI ต้องมีคาส่ังยืนยันในระบบจึงจะส่ังใช้ยาได้
- กรณีที่เป็นคู่ยา Fatal DI ระบบจะล็อคไว้ ไม่ให้สามารถยืนยันคาสั่งได้ แพทย์ผู้สั่งยาต้องกรอกแบบฟอร์ม Fatal Drug Interaction request form และขออนุมัติการใช้ยาผ่านผู้บริหาร
ตวั อยา่ งคยู่ า Fatal Drug Interaction ทเ่ี คยเปน็ ปญั หาในระบบยาและมอี นั ตรายรา้ ยแรงตอ่ ผปู้ ว่ ย เชน่ การสงั่ ใชย้ า Simvastatin ซง่ึ เปน็ ยา ลดไขมัน ร่วมกับยา Clarithromycin ที่ใช้รักษาการติดเช้ือ Helicobacter pylori ซึ่งเป็นเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคกระเพาะอาหาร ยาคู่น้ีอาจก่อให้เกิด อนั ตรายไดใ้ นผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ บั ยาคกู่ นั แมใ้ นภาวะผปู้ ว่ ยทมี่ กี ารทา งานของอวยั วะตา่ งๆ ปกติ หรอื สว่ นอกี กรณเี ปน็ ตวั อยา่ งการสง่ั ใชย้ า Clarithromycin คู่กับยา Colchicine ที่จะมีความเส่ียงในการเกิดอันตรายในผู้ป่วยที่มีการทางานของไตเส่ือม เช่น โรคไตเร้ือรัง (Chronic Kidney Disease, CKD) โดยจะทา ใหผ้ ปู้ ว่ ยเกดิ ภาวะ Pancytopenia (ความผดิ ปกตขิ องไขกระดกู เกดิ การลดระดบั ของเซลลใ์ นเลอื ดทกุ ประเภท) อาจมอี นั ตรายถงึ ขนั้ เสยี ชวี ติ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 245