Page 273 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 273
B4-205
19th HA National Forum
การควบคุมและประเมิน การใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ (Drug Use Evaluation = DUE)
1. กาหนดรายการยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ - Amphotericin B
- Vancomycin
- Cefoperazone/sulbactam - Piperacillin/tazobactam
- Ciprofloxacin
- Colistin
-Ertapenem -Tigecycline
- Imipenem
- Levofloxacin - Meropenem
2. มีการบันทึกการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ และมีการปรับปรุงแบบบันทึกการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างต่อเนื่อง 3. มีการติดตามการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ
3.1 สถิติการใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ
3.2 ความเหมาะสมในการใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ 3.3 มูลค่าการส่ังใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ
4 . มีการกาหนดนโยบายการส่ังใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ 4.1 การใช้ยา Tigecycline 50 mg
- ต้องผ่านความเห็นชอบแพทย์ ID ทุกราย
- ยาราคาแพง ในทารกแรกเกิดใช้ยาปริมาณน้อย ทางหน่วยผลิตยาได้ แบ่งผงยา tigecycline เป็นขนาดขวดละ
12.5 mg เมอ่ื ผสมยาแลว้ มี ความคงตวั 48 ชวั่ โมงเชน่ เดมิ ทา ใหป้ ระหยดั และใชไ้ ดส้ ะดวก ในทารกแรกเกดิ และเดก็ ทม่ี ี
น้าหนักน้อย
- เนอ่ื งจากยงั ไมม่ ขี อ้ มลู การใชใ้ นเดก็ คณะกรรมการ PTC กา หนด ใหม้ ศี กึ ษาการสงง่ั ใชย้ า Tigecyclineในทารกแรกเกดิ
(ในเรื่อง Efficacy และ safety )เพื่อเป็นข้อมูลต่อไป
4.2 การควบคุมกากับการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลในสถาบันสุขภาพเดก็แห่งชาติมหาราชินี ด้วยการทาวิจัย ผลการวิจัย
ผู้ป่วยเฉลี่ย 2,723 รายต่อปี อัตราการใช้ยาที่เหมาะสม เฉลี่ยร้อยละ 96.39 (94.16-97.57) รายการยาท่ีมีการสั่งใช้มากและมีการปรับเพื่อให้เกิดการใช้ยาที่เหมาะสม ได้แก่ meropenem, vancomycin และ colistin ตามลาดับ สาเหตุส่วนใหญ่คือมีหลักฐานสนับสนุนการใช้ยาไม่ชัดเจนและการเปลี่ยนยาให้มีการครอบคลุม เชื้อที่จาเพาะเจาะจง มากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 55.78 และ 14.82 ตามลาดับ ในจานวนนี้พบเชื้อดื้อยา ร้อยละ 33.82 ได้แก่ Klebsiella pneumoniae, Acinetobacter baumannii และ Escherichia coli ตามลาดับ
4.3 การพัฒนาโปรแกรมการควบคุมและประเมินการใช้ยาปฏิชีวนะควบคุมพิเศษ On-line ในระบบคอมพิวเตอร HIS
- ลดข้ันตอน
- ลดเวลา
- ข้อมูลครบถ้วน - ประมวลผลได้
3. คณะกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)
1 . พัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
2. ติดตามตัวชี้วัด ตามกุญแจ PLEASE
3. พัฒนาระบบป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล
- มีแผนปฏิบัติการการจัดการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) ในโรงพยาบาล
- ปี 2560 มีข้อมูล baseline ของอัตราการติดเชื้อในกระแสเลือดจากเช้ือแบคทีเรียดื้อยา 8 ชนิด = 1.12% 4. รายงาน
ผลการดาเนินการในวาระการประชุม PTC ทุกครั้ง
- ตัวช้ีวัดตามกุญแจ PLEASE
- อัตราการติดเชื้อด้ือยาในกระแสเลือดจากเชื้อแบคทีเรียดื้อยา 8 ชนิด
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 273