Page 271 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 271

B4-205
19th HA National Forum
  รศ.ดร.พญ.ภิญโญ รัตนอัมพวัลย์
เช้ือดื้อยาเป็นปัญหาสาคัญ ที่ทาคนไทยติดเช้ือด้ือยาปีละ 140,000 คน เสียชีวิตปีละ 30,000 คน มากกว่าโรคไม่ติดต่อสาคัญเช่น หลอด เลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง อีกท้ังสูญเสียงบประมาณถึงปีละ 2 ล้านล้านบาท ซ่ึงสามารถสร้างรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ เชียงใหม่ ไปกลับได้ 2 รอบ โรงพยาบาลศิริราชมีการใช้ยาต้านจุลชีพในผู้ป่วยร้อยละ 95 ถ้าสามารถลดต้นทุนได้จะทาให้ประหยัดงบประมาณได้มาก ดังนั้นวิธีการลดเช้ือ ด้ือยา 2 อย่าง
1. กรณีเช้ือดื้อยาเกิดขึ้นในโรงพยาบาลแล้ว จัดทาแนวทางปฏิบัติในการรักษา กลุ่มบาดแผลสด กรณีคลอดปกติไม่ให้ยาต้านจุลชีพ หากต้องใช้ต้องไม่เกิน ร้อยละ 10 กาหนดเป็นนโยบายโดยผู้บริหาร ผลการดาเนินงานยังไม่ถึงเกณฑ์ที่กาหนด ต้องพยายามต่อไป
2. Pre authorization เป็นวิธีท่ีแนะนาให้ทา เป็นภาระงานมาก เป็นวิธีท่ีดี ผู้ที่ทาต้องมีความเสียสละแรงกาย แรงใจ เสี่ยงต่อชีวิตเป็น
อย่างมาก
ในแต่ละปีเสียค่าใช้จ่ายจากยาปีละ 100 ล้านบาท ซึ่งเกินความจาเป็น จากการทบทวนพบว่าร้อยละ 50 ลดการใช้ยาได้ การส่ังใช้ยาต้าน
จลุ ชพี ตอ้ งสง่ั ยาโดยแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญ จากการศกึ ษาแยกกลมุ่ ผปู้ ว่ ยเปน็ 2 กลมุ่ พบวา่ ยาทคี่ วบคมุ การใชย้ าตา้ นจลุ ชพี อาการดขี น้ึ ไมท่ า ใหผ้ ปู้ ว่ ยตาย เพมิ่ ขนึ้ จงึ ไดร้ ายงานใหผ้ บู้ รหิ ารทราบและประหยดั งบประมาณปลี ะ 30 ลา้ นบาท ดงั นนั้ จงึ ไดเ้ กบ็ ขอ้ มลู ทา วจิ ยั ทเ่ี รยี กวา่ Surveillance Glass เปน็ การ เกบ็ ขอ้ มลู ทางคลนิ กิ แลว้ นา เขา้ โปรแกรม (upload) Antibiogram ใช้ application ผา่ นมอื ถอื ผลการวจิ ยั พบวา่ แตกตา่ งจากการเกบ็ ขอ้ มลู แบบเดมิ มาก อตั ราการตดิ เชอื้ ดอื้ ยาลดลง และไดท้ า การศกึ ษาเปรยี บเทยี บ การควบคมุ และประเมนิ การใชย้ าปฏชิ วี นะควบคมุ พเิ ศษ (Drug Use Evaluation = DUE) ของเภสัชกรเฉพาะทางโรคติดเช้ือ กับเภสัชกรท่ัวไป พบว่า การทางานของเภสัชกรท้ังสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน สาหรับการเก็บข้อมูลการใช้ ยาต้านจุลชีพในกลุ่มผู้ป่วยติดเช้ือระบบทางเดินหายใจส่วนต้น พบว่าลดลงร้อยละ 34.7 ดังน้ันการทางานการติดเชื้อดื้อยาให้ได้ผลดีประกอบด้วย
1. ทางานเป็นทีม สร้าง Dream Team มีใจในการทางาน ไม่ทางานคนเดียว
2. โรงพยาบาลขนาดเล็กต้องมีโรงพยาบาลขนาดใหญ่ช่วยเหลือ เป็นพี่เลี้ยง
3. ไม่หวังสูงต้ังเป้าหมายตามศักยภาพของตนเอง โรงพยาบาลและทีม ประเมินปัญหาท่ีสาคัญของโรงพยาบาล ดาเนินการแล้วเกิดพลัง
มกี า ลงั ใจ เรม่ิ จากสง่ิ ทงี่ า่ ยมผี ลงานเพมิ่ กา ลงั ใจ เรมิ่ จากสงิ่ ทย่ี ากจะบน่ั ทอนจติ ใจ ถา้ คนไมพ่ รอ้ มควรเรมิ่ จากผปู้ ว่ ยในเปลย่ี นยาฉดี เปน็ ยากนิ ลดระยะ เวลาการใช้ยาต้านจุลชีพ ท้ายสุดนัดผู้ป่วยมาฉีดยาแบบผู้ป่วยนอก เพื่อลดการติดเชื้อในโรงพยาบาลได้ดี
ภญ.จุรี อุทัยชลานนท์
บทบาทของคณะกรรมการเภสัชกรรมบาบัด (Pharmacy and Therapeutic Committee = PTC) เป็นทีมนาที่มีบทบาทสาคัญมากใน การควบคุม กากับ ติดตาม การใช้ยาทุกประเภทอย่างเป็นระบบ สม่าเสมอ นัดประชุมผ่านระบบไลน์ ทาให้ประสบผลสาเร็จ คณะกรรมการประกอบ ด้วยผู้นาองค์กร เป็นประธาน กรรมการประกอบด้วย ผู้ที่ใช้ยา ผู้เก่ียวข้องกับการใช้ยาของหน่วยงาน และเภสัชกร หัวหน้ากลุ่มงานเภสัชกรรม เป็น เลขานุการ มีหน้าท่ีรับผิดชอบ 1. กาหนดนโยบายด้านยา 2. ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ด้านยา 3. บริหารความเส่ียงและความปลอดภัยด้านยา 4. ควบคุม ติดตามและประเมินผลการใช้ยา 5. ส่งเสริมให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
Multidrug Resistance (MDR)
หมายถึง เช้ือท่ีด้ือยาต้ังแต่ 3 กลุ่มข้ึนไป ได้แก่กลุ่มยา: aminoglycoside, carbapenem, cephalosporin, beta-lactamplus beta-lactamaseinhibitor, quinolone
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 271
 
















































































   269   270   271   272   273