Page 269 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 269
B3-205
19th HA National Forum
ขัน้ตอนการดาเนินงาน
1. ระบุสถานการณ์ที่ต้องวางแผนอัตรากาลัง เช่น คนลดลงจากบุคลากรลา ประชุม อบรม เป็นต้น งานเพิ่มข้ึน ไม่สามารถคาดการณ์ได้ ล่วงหน้าได้ นอกจากน้ียังมีเหตุการณ์ที่ทาให้ไม่สามารถทางานได้บางช่วงเวลา เช่น ไม่สามารถทางานช่วง 8:30-12:00 น.เนื่องจาก big cleaning และ fume ห้องด้วย H2O2 ต้องทางานให้เสร็จก่อน 13:30 น.เนื่องจากเปลี่ยนเคร่ืองปรับอากาศในห้องผสม TPN หรือขัดพื้น ล้างระเบียง หรือต้อง ทางานให้เสร็จก่อนเวลา 15:00 น. เน่ืองจาก maintenance ซ่อมตู้ LAF
2. แต่ละหน่วยงาน เขียน VSM หาวิธีกาจัด waste และคานวณ man-hour แต่ละตาแหน่งใหม่ ทา workload leveling วางแผนอัตรา กาลังในสถานการณ์ที่กาหนด วิเคราะห์ความต้องการอัตรากาลังเพ่ิมของตนเองโดยหน่วยงานย่อยต้อง
วิเคราะห์ภาระงานของตนเอง ระบุวิกฤตหรือสภาวะคอขวดของตนเองได้แม่นยา อัตราเร็วที่เพิ่มขึ้น 1 อัตรากาลังในแต่ละตาแหน่ง สรุป อัตรากาลังที่ต้องการเพิ่ม ตาแหน่ง ช่วงเวลา ระยะเวลาได้ถูกต้อง โดยตกลงบนเป้าหมายเดียวกัน คือ ทุกงานต้องไม่หยุดให้บริการ ผู้ป่วยได้รับยา ทันเวลา บริหารยาไม่เสี่ยงต่อการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา จัดการอัตรากาลังตามความถนัดของบุคลากรเพื่อลด medication error ทุกหน่วย จัดแผนปฏิบัติงานร่วมกัน การคานวณอัตรากาลังท่ีใช้ กาหนดเป็นความยาวของแผ่นงาน จัดเฉพาะงานที่ต้องใช้ pull system เพื่อส่งยาทันเวลา แผ่นย่อย คือ เปลี่ยนคนทาได้ การให้ยืมอัตรากาลัง (workload leveling) โดยกาหนดช่วงเวลาท่ีให้อัตรากาลังเสริมทั้งจานวนคน ระยะเวลาที่ให้ ยืม กาหนด level ภาระงานที่ไม่ปกติและไม่ให้อัตรากาลังเพ่ิม เฝ้าระวังและไวต่อสถานการณ์ที่ต้องการคนกลับ
3. จัดทาตารางรวบรวมทักษะการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกตาแหน่งในทุกหน่วยงานย่อย
4. กาหนดเวลา 12:00 น.ในการประเมินภาระงานที่ปฏิบัติได้จริง หากพบว่าน้อยกว่าปกติต้องเสริมอัตรากาลัง
ผลการดาเนินการ
ความคลาดเคล่ือนทางยาท่ีถึงตัวผู้ป่วยเป็น 0 ครั้ง จานวนคร้ังที่ส่งยาไม่ทันรอบ delivery เป็น 0 ครั้ง ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดอัตรากาลัง 8 นาที (เป้าหมาย <15 นาที)
บทส่งท้าย
โรงพยาบาลศิริราชได้นาแนวคิด Lean มาประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนระบบงานหลายส่วน เช่น ห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอก ห้องจ่ายยาผู้ป่วย ใน และหน่วยเตรียมยาเด็ก โดยเริ่มจากการเขียนสายธารแห่งคุณค่า กาหนดขอบเขตการทางาน และแก้ไขชนิดของความสูญเปล่า ส่งผลให้เกิดการ พัฒนาคุณภาพงานในระบบยาของโรงพยาบาลได้เป็นอย่างดี
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
1. Lean ไม่ใช่เร่ืองของการทางานให้หนักข้ึนหรือเบาข้ึน แต่เป็นการค้นหา waste และเปลี่ยนให้เป็น value ท่ีผู้รับผลงานของเราต้องการ 2. ถึงแม้เภสัชกรจะตรวจสอบยาถูกต้องหรือทางานรวดเร็วเพียงใดแต่ถ้าส่งยาผิดหอผู้ป่วย สิ่งท่ีทาเท่ากับสูญเปล่า
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
• ได้รับการสนับสนุนเชิงนโยบายจากผู้นา หัวหน้างานมีความเป็น leadership ที่ดี
• ทีมงานมีความเข้มแข็ง มีความร่วมมือของบุคลากรในทีม อบรมผู้ปฏิบัติงานภายในหน่วยงานที่ดาเนินการปรับปรุงระบบให้มีความเข้าใจ
แนวคิดเรื่อง LEAN และสามารถดาเนินงานได้ในทิศทางเดียวกัน
• วัฒนธรรมองค์กรของโรงพยาบาลศิริราช
• ทัศนคติเชิงบวกต่อแนวคิด LEAN กับการพัฒนาคุณภาพของบุคคลากร
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 269