Page 267 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 267
B3-205
19th HA National Forum
ภญ.มณวรัตน์ เลาหะจีรพันธ์ุ
หน่วยเตรียมยาเด็กมีอัตรากาลังประกอบด้วยเภสัชกร 9 คน ผู้ช่วย 6 คน หน้าที่รับผิดชอบ คือ เตรียม TPN 1,700 doses/เดือน โดย มี admixture (700-800 doses/เดือน) ยารับประทานขนาดน้อย (2,700 doses/ เดือน) งานบริบาลทางเภสัชกรรม ward service, CKD&DM clinic, round ID ทางหน่วยเตรียมยาเด็กวางแผนขยายงาน IV admixture ท้ังภาควิชากุมารเวชศาสตร์ เป็น 10,000 doses/เดือน และผู้ป่วยเด็ก ภาควิชาวิสัญญีวิทยาเป็น 1,000 doses/เดือน โดยมี KPI คือ อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาท่ีถึงตัวผู้ป่วยร้อยละ 0 หน่วยเตรียมยาเด็กได้มีการนา Lean มาใช้เพ่ือปรับวิธีการเตรียมยาปัจจุบัน ลดอัตรากาลัง ลดอัตราคงคลัง ใช้ออกแบบโครงการใหม่ๆ โดยเร่ิมจากปัญหาคนหน้างานพบว่าคนไม่ พอ พ้ืนท่ีไม่พอ จึงได้มีการแก้ปัญหา Identify waste & solution approach (defect rework) โดยใช้ DOWNTIME
I. Lean กับวิธีการเตรียมยาปัจจุบันและลดอัตราคงคลัง
DOWNTIME
ปัญหา
วิธีแก้ไข
Defect rework
อัตรากาลัง
จัดแผนการทางานให้เป็น pull system
- จัดเวลาผสม IV admixture ในช่วงที่ทีม TPN มี ภาระงานน้อย (workload leveling)
- Lean การทา งานทไี่ มจ่ า เปน็ ทบทวนอตั รากา ลงั ของหน่วยงานย่อย
- จัดระบบการขอยืมคนในระดับชั่วโมง
พื้นที่
ลด Stock
Inventory
อัตราคงคลังมาก เนื่องจากมีการเบิกสะสมตั้งแต่ นา้ ทว่ มปี 54 มกี ารสะสมวสั ดคุ งคลงั มากกวา่ >เปา้ เดิมคือ 3 สัปดาห์ ใช้เวลาและอัตรากาลังในการ บริหารจัดการมาก กลัวของขาดไม่กล้าลด stock กระบวนการ first expired first out(FEFO) ไม่ สามารถเกิดขึ้นได้จริงเป็นผลให้พบยาหมดอายุ
1. ลด stock จาก 3 สัปดาห์เหลือ 1 สัปดาห์ หา re-order point ใหม่สาหรับ 1 สัปดาห์ และใช้ KANBAN card ในการกาหนดจุดเบิก
2. ประสานงานกับคลังยา : เบิกปกติ 1ครั้ง/ สัปดาห์ และสามารถเบิกแบบแตก pack ได้ 3.ลด stock เหลือ 1 ที่ ให้บริษัทส่งน้าเกลือ บริเวณ stock ส่งผลให้น้าเกลือถูกจัดเก็บทันที ไม่วางเกะกะ และลดอาการบาดเจ็บของผู้ช่วย เภสัชกร จากการทากระบวนการดังกล่าว ทาให้ มูลค่า stock ลดลง 11 ล้านบาทต่อปี
- ระยะเวลารอตรวจสอบยานาน ห้องยามีระบบ หลายระบบ (HIS, e-HIS)
- ยกเลิกการทางานหลายระบบ (ยกเลิกระบบ e-HIS) หาระบบเทคโนโลยีอื่นมาทดแทน
สิ้นเปลืองจากการผสมหยิบยา/ส่วนผสมผิด
ป้องกันความสิ้นเปลืองจากการผสมยาผิด ด้วย การทา visual management คือ การติด สติ๊กเกอร์สีแยกชนิดสารที่ syringe และ double check ชนิดสารด้วยสี
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 267