Page 395 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 395
A1-105
19th HA National Forum
1. Inclusive development เป็นการพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้เบ้ืองหลัง การพัฒนาคนท่ียากจน คนเปราะบาง คนชายขอบจะต้องมีส่วนร่วม และได้รับประโยชน์จากการพัฒนา
2. Universal Development คือ มิใช่การพัฒนามุ่งเน้นท่ีประเทศยากจนเท่าน้ัน แต่ทุกประเทศเองก็อยู่ภายใต้เป้าหมายการพัฒนาท่ี ย่ังยืนและต้องร่วมกันบรรลุเป้าหมายน้ีเพื่อสร้างโลกที่ยั่งยืน
3. Integrated development การพัฒนาที่บูรณาการ หมายถึงว่า การบรรลุเป้าหมาย SDGs ที่มีความเชื่อมโยงกันอย่างแนบแน่นใน ระดับเป้าประสงค์ (Targets) การบรรลุ SDGs จะต้องดาเนินไปพร้อมๆ กันอย่างเป็นระบบ
4. Locally-focused development นั้นเป็นการพัฒนาท่ีจะต้องเร่ิมจากระดับท้องถิ่น หรือ bottom-up ด้วยเหตุผลที่ว่า บริบทท้องถ่ิน ทง้ั ชนบทและในเมอื งนน้ั เปน็ บรบิ ททใี่ กลก้ บั ตวั ผคู้ นทส่ี ดุ การบรรลุ SDGs จงึ ตอ้ งถกู นา ไปพจิ ารณาในระดบั ทอ้ งถนิ่ และดา เนนิ การในระดบั ทอ้ งถน่ิ ใหไ้ ด้ 5. Technology-driven development เป็นการพัฒนาที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีในการบรรลุ ทั้งเทคโนโลยีด้านการส่ือสารและด้านข้อมูล (data revolution) เพอื่ ทา ใหผ้ ลของการพฒั นาถกู เผยแพรแ่ ละถกู ตดิ ตามไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นนั้ การแพทยย์ คุ 4.0 จงึ ตอ้ งทนั กบั กระแสความ
เปลี่ยนแปลง และสู่เป้าหมายที่กรมการแพทย์ได้กาหนด คือ “The best for the most”
นพ.สมศักด์ิ อรรฆศิลป์
การปฏิรูประบบสุขภาพกับกระแสความเปล่ียนแปลงเพื่อนาการแพทย์ เข้าสู่ยุคการแพทย์ 4.0: The Best for the Most ด้วยการนา Sus- tainable development (SDGs ) ปี 2016-2030 ชุดเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืนของสหประชาชาติครอบคลุมแทบทุกมิติท่ีเกี่ยวข้องกับคุณภาพ ชีวิตมนุษย์ทั้งหมด17 เป้าหมาย 169 เป้าประสงค์ 241 ตัวชี้วัด
โดยส่วนใหญ่ในด้านการแพทย์และสาธารณสุขจะสอดคล้องกับเป้าหมายที่ 1 ขจัดความยากจนในทุกรูปแบบ ทุกที่ เป้าหมาย ท่ี 2 ขจัด ความหวิ โหยบรรลเุ ปา้ ความมนั่ คงทางอาหาร ปรบั ปรงุ โภชนาการและสนบั สนนุ การทา เกษตรกรรมอยา่ งยงั่ ยนื เปา้ หมายที่ 3 สรา้ งหลกั ประกนั ใหค้ น มีชีวิตที่มีคุณภาพ และส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย เป้าหมายที่ 4 สร้างหลักประกันให้การศึกษามีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและครอบคลุม และสง่ เสรมิ โอกาสในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สา หรบั ทกุ คน ทงั้ นตี้ อ้ งสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาประเทศไทยหรอื Sustainable Thailand ทนี่ ายกรฐั มนตรี ได้เน้นถึงความม่ันคง สังคมเดินหน้าไปด้วยกันไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังระบบเศรษฐกิจที่เน้นมูลค่ามั่งค่ังย่ังยืนส่ิงแวดล้อมท่ีน่าอยู่
จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทั้งปัจจัยภายในและภายนอกท่ีมีผลต่อระบบสุขภาพทั้งในปัจจุบันและอนาคต เช่นการเปล่ียนแปลง โครงสร้างของประชากรไทย การเปลี่ยนแปลงฐานเศรษฐกิจสู่ยุคดิจิตัล ระบบสาธารณสุขท่ีขาดเอกภาพ ความเหลื่อมล้าของการกระจายทรัพยากร การเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ ความเสยี่ งในดา้ นสถานะการเงนิ การคลงั การเกดิ โรคอบุ ตั ใิ หมแ่ ละโรคอบุ ตั ซิ า้ การเสยี ชวี ติ ดว้ ยโรคตดิ ตอ่ ทสี่ ามารถปอ้ งกนั ได้ ปัญหามลพิษส่ิงแวดล้อม ความรอบรู้ด้านสุขภาพไม่เพียงพอ และโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บเพ่ิมสูงข้ึน อีกท้ังรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พ.ศ.2560 โดยเฉพาะในมาตรา 47 มาตรา 48 มาตรา 55 นามาใช้ในการปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข และให้มีความ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข โดยระยะ 5 ปีแรก (2560-2564) คือการมุ่งปฏิรูประบบสุขภาพ เน้นการปรับเปล่ียน โครงสร้างระบบบริหารจัดการที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา การวางรากฐานของระบบสุขภาพใหม่ ใน 3 ประเด็นหลักคือ
ด้านนโยบายและการกากับ (Policy and regulators) โดยกาหนดให้มี
1.1 คณะกรรมการด้านนโยบายสุขภาพระดับชาติ (National health policy board: NHPB) ทาหน้าท่ีกาหนดทิศทาง/นโยบายหลักด้าน สุขภาพ เช่ือมโยงบูรณาการ นานโยบายสู่การปฏิบัติ กากากับติดตามประเมินผล
1.2 คณะกรรมการด้านนโยบายสุขภาพระดับเขต (Regional health policy board: RHPB) เพ่ือบูรณาการทุกภาคส่วน และมีผู้ตรวจ ราชการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน
1.3 ปรบั โครงสรา้ งของกระทรวงสาธารณสขุ ดา้ นผซู้ อื้ (Purchasers) ดว้ ยการปรบั ระบบการเงนิ การคลงั การปรบั ระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพ เพ่ือลดความเหลื่อมล้าในแต่ละกองทุน เป็นต้น ด้านผู้ให้บริการ (Providers) เช่น การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) การปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล การก้าวสู่ Smart hospital รวมถึง การปฎิรูปกาลังคนด้านสาธารณสุข (HRH Transformation) สู่ความเป็นเลิศด้านบริการ
395 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)