Page 48 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 48
B3-200
19th HA National Forum
อีกเรื่องที่ควรจะพูดถึงคือการบุกเบิกงานสาธารณสุขชุมชนและงานสาธารณสุขมูลฐาน ซ่ึงประเทศไทยได้ริเริ่มดาเนินการข้ึนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 ล่วงหน้า 1 ปี ก่อนคาประกาศ อัลมา-อะตา (Declaration of Alma-Ata) ว่าด้วยเรื่องสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care) โดยมี เปา้ หมายใหป้ ระชาชนมสี ขุ ภาพดถี ว้ นหนา้ ในปี พ.ศ.2543 ถอื เปน็ จดุ เปลยี่ นสา คญั ในประวตั ศาสตรก์ ารสาธารณสขุ โลก ประวตั ศิ าสตรก์ ารสาธารณสขุ เป็นสิ่งท่ีแยกไม่ออกจากประวัติศาสตร์การเมือง เพราะนโยบายด้านสาธารณสุขย่อมมีแนวคิดด้านการเมืองเป็นรากฐาน การสาธารณสุขมูลฐาน เป็นการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณสุขของโลกจากประเทศในฝ่ายสังคมนิยม ที่เห็นว่าการสาธารณสุขจะเป็นไปเพื่อคนท้ังหมดทั้งมวล ไม่ใช่เป็นการ สาธารณสุขที่มีแค่คนเพียงส่วนหนึ่งเท่าน้ันท่ีได้ประโยชน์ การขับเคลื่อนแนวคิดน้ีมีการช่วงชิงการนาในเวทีระดับโลกระหว่างประเทศท่ีเป็นผู้นาฝ่าย เสรี-ทุนนิยม และประเทศฝ่ายสังคมนิยม-คอมมิวนิสต์ รูปแบบต่างๆ ของการสาธารณสุขมูลฐานได้รับอิทธิพลจากการดาเนินการสาธารณสุขใน ประเทศสังคมนิยม ที่เน้นการจัดตั้งชุมชน การสร้างอาสาสมัครที่เลียนแบบมาจากหมอเท้าเปล่าของจีน หรือการเน้นการควบคุมป้องกันโรค และ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพทท่ี า ใหส้ ขุ ภาพของประชาชนดขี นึ้ โดยมคี า่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ย ดงั ทปี่ ระสบความสา เรจ็ อยา่ งชดั เจนในควิ บา เปน็ ตน้ ในประเทศไทยมผี นู้ า ด้านการสาธารณสุขชุมชนที่รับช่วงกันมาอย่างต่อเนื่อง จากโครงการอาสาสมัครมาเลเรีย โครงการอนามัยวัดโบสถ์ โครงการสารภี โครงการโนนไทย และโครงการอ่ืนๆ เรามีผู้นาด้านนี้ อย่างเช่น นพ.อมร นนทสุต ที่ผลักดันในระดับกระทรวง ในขณะที่ในระดับพื้นที่ก็มีแพทย์หนุ่มๆ ที่ออกไปบุกเบิก งานพัฒนาสาธารณสุขในชนบท อย่างเช่น นพ.สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ ท่ีมีผลงานมาตั้งแต่ไปบุกเบิกงานท่ีโรงพยาบาลชุมชนราศีไสล จนกระทั่ง มานาเสนอและผลักดันนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จนประสบความสาเร็จในปัจจุบัน
บทส่งท้าย
การทจ่ี ะมองเหน็ ถงึ คณุ คา่ คณุ ภาพ และคณุ ธรรมได้ จา เปน็ จะตอ้ งมองยอ้ นกลบั ไปดอู ดตี คน้ หาเรอ่ื งราวทเี่ กดิ ขนึ้ เพราะทกุ สง่ิ ลว้ นมเี หตผุ ล และความเป็นมาท่ีเชื่อมโยงมาถึงปัจจุบันเสมอ โดยเฉพาะเรื่องราวความเป็นมาทางด้านการสาธารณสุขที่มีความเกี่ยวข้องกับชีวิตและความเจ็บป่วย ได้สะท้อนให้เห็นในหลายมิติ ทั้งจิตใจมนุษย์ที่มีความยิ่งใหญ่มุ่งมั่นท่ีจะทาประโยชน์เพื่อส่วนรวมโดยไม่คานึงถึงความยากลาบาก และจิตใจมนุษย์ ท่ีเห็นแก่ตัว ทาร้ายเพื่อนมนุษย์เพียงเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของคนบางกลุ่ม รวมไปถึงการได้เห็นพัฒนาการของการสาธารณสุขในยุคสมัยต่างๆ และบุคลากรทางสาธารณสุข ที่มีวิธีการทางานที่สามารถทาให้ผ่านพ้นอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่มีอยู่ในแต่ละยุคสมัย การมองย้อนกลับไปดูอดีต จึงทาให้เรารู้จักตัวเองมากยิ่งขึ้น ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีสามารถนามากาหนดปัจจุบัน และอนาคต ให้เหมาะสมได้
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
การจะดา เนนิ การอะไรลว้ นตอ้ งพบเจอกบั อปุ สรรคปญั หาทงั้ นน้ั ขนึ้ อยกู่ บั วา่ เราจะทอ้ ถอย หรอื สเู้ พอ่ื เดนิ หนา้ ตอ่ ไป สา หรบั การสาธารณสขุ ก็เช่นเดียวกัน ที่ในปัจจุบันผู้คนต่างพากันรู้สึกว่าสมัยนี้มีแต่โรคภัยไข้เจ็บ การทางานสาธารณสุขเป็นส่ิงท่ียากลาบาก ไม่เหมือนสมัยก่อน แต่ใน ความจริงแล้ว ทุกยุคทุกสมัยต่างประสบกับอุปสรรคปัญหาต่างๆ แตกต่างกันไป จากโรคระบาดที่คร่าชีวิตผู้คนไปมากมาย โดยที่ไม่มีวิทยาการหรือ แม้แต่เครื่องไม้เครื่องมือใดเลยท่ีจะนามาช่วยชีวิต แต่บุคลากรสาธารณสุขในสมัยนั้นก็ยังมีความมุ่งมั่นพยายามอย่างเต็มท่ี ท่ีจะต่อสู้กับโรคภัยไข้เจ็บ จนกระท่ังโรคระบาดได้ สูญหายไปหลายโรค ดังนั้นในยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งสามารถนามาช่วยอานวยความสะดวก ใหก้ บั มนษุ ยไ์ ดใ้ นหลายๆ ดา้ น การยอมรบั และเผชญิ หนา้ กบั อปุ สรรคปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ดว้ ยหวั ใจแขง็ แกรง่ และเรยี นรจู้ ากบทเรยี นในอดตี จะเปน็ สงิ่ ชว่ ย ให้สามารถผ่านพ้นอุปสรรคปัญหาไปได้ และนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ท่ีดีข้ึนกว่าเดิม
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. การเรียนรู้จากประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดการสะท้อนย้อนคิด (Professional Reflection)
2. อดีตมีท้ังเรื่องราวที่ดีที่สามารถเป็นแบบอย่างและแรงบันดาลใจ และมีเรื่องราวความผิดพลาดที่ควรเรียนรู้เพื่อไม่ทาผิดซ้าซาก
3. ความสาเร็จของการสาธารณสุขไม่ได้เกิดข้ึนจากผู้บริหารหรือแพทย์เท่านั้น แต่ผู้คนที่ทางานในพื้นที่มีส่วนสาคัญที่จะทาให้นโยบาย
ต่างๆ ประสบความสาเร็จได้
4. คนที่ทางานโดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมก็อาจตายได้เพราะไปขัดผลประโยชน์ ระบบท่ีดีที่จะปกป้องคนทาดีจึงมีความสาคัญ 5. เราควรเรียนรู้เร่ืองราวต่างๆ เกี่ยวกับบุคคลในองค์กรให้มากขึ้น ซ่ึงอาจทาให้เราได้พบกับตัวอย่างท่ีดีที่ยังไม่มีใครพูดถึง และนามา
ส่งเสริมเผยแพร่ให้เป็นตัวอย่างแก่คนรุ่นหลังได้
48 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)