Page 497 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 497
A2-108-109
19th HA National Forum
การใชแ้ นวคดิ 3C-PDSA /DALY นอกเหนอื จากมาตรฐาน HA นอกเหนอื จากมาตรฐานวชิ าชพี กด็ ูภายใตบ้ รบิ ทของแตล่ ะพื้นท่ี เช่นโรงพยาบาลเลก็ ๆ ขนาด 30-60 เตียง ไม่สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติการได้ท้ังหมด มีการส่งตรวจภายนอก ท้ังภาครัฐ เอกชน ตรวจสอบการควบคุมกากับดูแลอย่างไร ส่วนโรงพยาบาลใหญ่ๆ ก็ตรวจตามโรงพยาบาลทาได้ภายใต้บริบทเช่นเดียวกัน (บริบทหมายถึงขอบเขตการให้บริการ)
ภญ.ผุสดี บัวทอง
สาหรับมาตรฐานฉบับใหม่จะมี 4 ตอนเท่าเดิม มีจุดท่ีเปลี่ยนเล็กน้อย มาตรฐานห้องปฏิบัติการอยู่ตอนที่ II-7 ส่วน ที่แตกต่างไปจากเดิม คือการตรวจทดสอบประกอบการวินิจฉัยโรค จาเป็นต้องได้มาตรฐานมีคุณภาพ แยกห้องปฏิบัติการออกจากงานบริการทางรังสีวิทยา เพื่อให้ชัดเจน เห็นมาตรฐานแต่ละวิชาชีพ มาตรฐานฉบับใหม่ II-7.1 เน้นทางรังสีวิทยาและภาพทางการแพทย์ II-7.2 เน้นบริการห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และ พยาธิวิทยาคลินิก ซึ่งจะเชื่อมโยงกับมาตรฐานแต่ละวิชาชีพที่เป็นเครือข่ายร่วมกันกับสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล II-7.3 เน้นเรื่องพยาธิ วิทยากายวิภาค แยกเรื่องการตรวจวินิจฉัยอื่นๆ แยกธนาคารเลือดการบริการโลหิตออกต่างหาก มาตรฐานห้องปฏิบัติการที่แยกออกมามีอย่างน้อย 4 เรื่อง ก่อนที่จะเข้าสู่กระบวนการ HA ขั้น 3 re-accreditation โรงพยาบาลขนาด 60 เตียงข้ึนไปต้องผ่านการรับรองมาตรฐานสภาวิชาชีพ เช่น มาตรฐาน LA มาตรฐาน ISO 15189 มาตรฐานราชวิทยาลัย ดังนั้น การตรวจรับรองคุณภาพ HA เป็นการรับรองระดับสากล เนื่องจาก สรพ. ต้องผ่านการรับรองของ ISQua เช่นกัน
ดร.ภัทรวีร์ สร้อยสังวาล
การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ไม่ใช่เรื่องเล็ก ไม่ใช่เร่ืองใหญ่ และ ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เรื่องยากกว่าคือเรื่องที่จะรักษามาตรฐานให้คง อยู่ตลอดไป เร่ืองหลักในเชิงนโยบายนั้นทั่วโลกพูดเร่ืองคุณภาพ ไม่ใช่แค่เมืองไทย หลายๆ ประเทศเข้ามารักษาที่ประเทศไทย ความได้เปรียบนี้เน้น medical herb และซ้ือบริการด้วยคุณภาพ การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นคนเพิ่มขึ้นความต้องการเพ่ิมขึ้น ดังนั้นต้องเปล่ียนแปลงวิธีการทางาน สังคม ต้องการอยู่อย่างมีความสุข ผู้รับบริการต้องการส่ิงที่ดีกว่า เข้ารับบริการรวดเร็ว หน้าไม่งอ รอไม่นาน การเข้าถึงบริการทางการแพทย์อย่างเท่าเทียม กนั ระบบสขุ ภาพจงึ พยายามปรบั ปรงุ เพอื่ ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ บรกิ ารอยา่ งเทา่ เทยี ม ทวั่ ถงึ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเปน็ องคป์ ระกอบสา คญั ทขี่ าดไมไ่ ด้ ขาดเมอื่ ไหร่แพทย์จะตาบอดทันที หลุยส์ พลาสเตอร์ กล่าวไว้ว่า “Without laboratory mean of sing” ดังนั้นนโยบายของรัฐบาล กระทรวงสาธารณสุข กา หนดใหป้ ระชาชนตอ้ งเขา้ ถงึ บรกิ ารอยา่ งเทา่ เทยี มกนั ดงั นนั้ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยจ์ งึ ไดม้ องหามาตรฐานไมว่ า่ จะเปน็ มาตรฐานสากล มาตรฐาน ระดับแปซิฟิก มาตรฐานระดับประเทศ การเข้าถึงที่เท่าเทียมกันจะทาได้เม่ือทุกคนเอาอุปสรรคขว้างกันออกไป ส่ิงที่สาคัญในการเข้าถึงบริการ คือ วิธีการที่ประชาชนจะเข้าถึงอย่างเสมอภาคเท่า เทียมกัน
1. สา นกั มาตรฐานหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทรี่ บั ผดิ ชอบไดม้ องเหน็ ระบบประกนั คณุ ภาพ การรบั รองหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร บคุ ลากรหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารสามารถ เลือกได้ว่าจะเอามาตรฐาน LA หรือ ISO15189 หรือ MOPH มาดาเนินการให้ต่อเน่ืองและดี เพื่อความมั่นใจในการดาเนินงาน โดยหาบุคคลที่สาม หรือการรับรองจากภายนอก มาตรวจประเมินรับรองเพื่อยืนยันความมั่นใจดังนั้นระบบห้องปฏิบัติจึงต้องผ่าน HA หรือผ่านโดยตรง ที่เรียกว่า third party และอีกกลุ่มที่เรียกว่ากลุ่มเอเชียแปซิฟิกเข้ามาตรวจสานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการเช่นกัน การรับรองห้องปฏิบัติการ
2. รับรองว่าห้องปฏิบัติการนั้นๆ มีความสามารถในการดาเนินการตามระบบคุณภาพที่ได้แสดงความจานงที่จะดาเนินการ
3. ถา้ เปน็ มาตรฐานสากล ISO กลมุ่ ประเทศสมาชกิ APLAC/ILAC จะยอมรบั การผลการตรวจวเิ คราะหจ์ ากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทผี่ า่ นการรบั รอง 4. เพื่อลดการตรวจซ้า
5. ต้องมีการตรวจประเมิน (peer evaluation) AB ของไทย จากหน่วยงาน AB ของประเทศสมาชิก APLAC/PAC
6. การเพ่ิมคุณภาพของมาตรฐานในด้าน Quality Of lab Quality of life ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (แลปนอก) เจ้าของกิจการ
ต้องรับผิดชอบภายใต้การควบคุมกากับของนักเทคนิคการแพทย์
497 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)