Page 15 - แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ1
P. 15

12



                                  ใบความรู้ เรื่อง การอ่านจับใจความส าคัญ




               การอ่านเพื่อจับใจความส าคัญ
                       การอ่านเพอจับใจความส าคัญเป็นการเก็บใจความส าคัญของเรื่องต่างๆที่อ่าน แล้วน ามาถ่ายทอดเรื่องนั้นๆ
                                ื่
               ให้ผู้อื่นเข้าใจได้โดยการพูดหรือการเขียนด้วยถ้อยค าส านวนภาษาของตนเอง ข้อความที่เรียบเรียงขึ้นใหม่นั้นจะต้อง

               มีความกระชับรัดกุม และมใจความส าคัญครบถ้วน การอ่านเพื่อจับใจความส าคัญจ าเป็นต้องมีความรู้และเข้าใจเรื่อง
                                      ี
               หลักและวิธีการอ่านเพอจับใจความและ  เล่าเรื่องจากการอ่านได้ การเรียนรู้ในหลักต่างๆดังกล่าวจะช่วยให้นักเรียน
                                  ื่
               ได้พัฒนาทักษะการอ่านจับใจความส าคัญอันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนในทุกรายวิชาต่อไป
               จุดมุ่งหมายของการอ่านเพื่อจับใจความ

                       มีจุดมุ่งหมายส าคัญ ดังนี้
                       1. เพื่อให้รู้จักใจความส าคัญของเรื่อง ว่าเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องของใคร ท าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร
                       2. เพื่อน าใจความส าคัญไปถ่ายทอดแก่ผู้อื่นให้เข้าใจ
                       3. เพื่อสรุปเนื้อเรื่องที่ได้อ่านนั้นเอาไปใช้ประโยชน์ในการอานต่อไป
                                                                      ่
               วิธีการอ่านเพื่อจับใจความ    ด าเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
                       1. อ่านผ่านๆโดยตลอด เพื่อให้รู้ว่าเรื่องนั้นว่าด้วยอะไรบ้าง จุดใดที่เห็นว่าเป็นจุดส าคัญของเรื่อง
                                          ิ
                                                                     ื่
                       2. อานโดยละเอยด   พจารณาข้อความทีละย่อหน้า เพอหาใจความส าคัญ ซึ่งประโยคใจความส าคัญอาจ
                          ่
                                    ี
               อยู่ตอนต้น ตอนกลาง ตอนท้ายหรือทั้งต้นและท้ายย่อหน้า หรืออาจไม่ปรากฏ   ให้เห็นก็ได้ เมื่อเจอประโยค
               ดังกล่าวแล้วอาจขีดเส้นใต้เอาไว้ด้วยก็ได้
                                                      ี
                       3. ค้นหาใจความรอง ซึ่งเป็นรายละเอยดที่สนับสนุนใจความส าคัญให้ชัดเจนขึ้น อาจเป็นการยกตัวอย่าง
               การอธิบาย การให้เหตุผล เป็นต้น

                       4. อ่านซ้ าเฉพาะตอนที่ไม่เข้าใจ   และตรวจสอบความเข้าใจในบางแห่งให้แน่นอน
                       5. ทดสอบความเข้าใจ  ด้วยการตอบค าถามสั้นๆเกี่ยวกับประเด็นของเรื่องและใจความส าคัญ เช่น ถามว่า
               เรื่องอะไร ใคร ท าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ท าไม เป็นต้น
                       6. เรียบเรียงใจความส าคัญ  ด้วยภาษาของตนเองที่เห็นว่าจะท าให้เข้าใจเรื่องได้ชัดเจนถูกต้องที่สุด โดย
                                                             ื่
               อาจให้รายละเอียดที่จ าเป็นของใจความส าคัญเพิ่มเติมเพอให้ได้เนื้อความที่สมบูรณ์

               ที่มา : ส านักพิมพ์วัฒนาพานิช
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20