Page 306 - Bright Spot 2563
P. 306
จากตารางพบว่า ผลการประเมินตามดัชนีวัดองค์กรสร้างสุข (HPI) หมวดที่ 1 ความส าเร็จ
เชิงผลลัพธ์ ร้อยละ 72.75 หมวดที่ 2 การบริหารจัดการบุคลากรร้อยละ 65.84 หมวดที่ 3 มุ่งเน้น
ดูแลร้อยละ 68.55 6 หมวดที่ 4 บรรยากาศในการท างานภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ร้อยละ
ื่
69.93 หมวดที่ 5 การลงทุนเพอการสร้างสุขในองค์กรสุขภาพกาย-ใจของบุคลากร 62.77 และ
ภาพรวม ร้อยละ 67.97 และมีการถอดบทเรียนการด าเนินการตัวตัวชี้วัดองค์กรสร้างสุข ซึ่งมี
กระบวนการด าเนินการ 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. ตรวจสอบสุขภาวะองค์กร - ค้นหาปัญหาและตรวจสอบระบบการบริหารบุคลากร - รับรู้มิติ
ั
ความทุกข์ ความสุขของบุคลากร - บุคลากรได้รับการดูแล ด้านสวัสดิการ ด้านสุขภาพ และสัมพนธภาพ
ุ
ั
ที่ดีของบุคลากรในองค์กร ปัญหาอปสรรค คือ ไม่ได้ร่วมกนวิเคราะห์สุขภาวะองค์กรร่วมกน - มุ่งเน้นที่
ั
กิจกรรม Happy 8 โดยไม่ได้ค านึงถึงระบบกลไกการบริหารบุคคลในด้าน Engagement
สิ่งทต้องพฒนา คือ องคประกอบของทีมสร้างสุข ต้องมีบุคลากรทุกกลุ่มอายุและทกสายงาน
ี่
ุ
์
ั
และส ารวจและวิเคราะห์ข้อมูลในมิติการบริหารบุคลากรให้ชัดเจน
ั
ุ
2. สร้างความตระหนักและพนธะสัญญา พบอปสรรค - ตั้งเป้าหมายไม่สอดคล้องกับบริบท
ขององค์กร - ผู้รับผิดชอบงาน หรือ ทีมสร้างสุขเป็นผู้ก าหนดทิศทาง
สิ่งที่ต้องพัฒนา ควรมีการสร้างความตระหนักและพันธะสัญญาระหว่าง คน 2 กลุ่มในองค์กร
คือ ผู้บริหารระดับสูงและบุคลากรมีการสื่อสารให้เข้าใจถึงความตั้งใจที่จะท าให้บุคลากรเกิดความสุข
ในการท างานโดยตั้งเป้าหมายร่วมกัน
3. การวินิจฉัยองค์กร การประสานความร่วมมือในทีมและเกดการเป็นเจ้าของงานและ
ิ
การสื่อสารไม่ทั่วถึงทั้งหน่วยงาน - บุคลากรในองค์กรบางกลุ่มถูกทอดทิ้งไป กิจกรรมไม่สอดคล้องกับ
ช่วงเวลาการท างานของบุคลากร - คนรุ่นใหม่ที่เข้ามาในหน่วยงานขาดโอกาสในการเรียนรู้
ั
ประวัติศาสตร์ของหน่วยงาน ท าให้เกิดความไม่เข้าใจได้ง่าย รวมทั้งไม่เกิดความผูกพนหรือส านึกรัก
หน่วยงาน
สิ่งที่ต้องพัฒนา
1. หน่วยงานต้องปรับปรุงช่องทางการสื่อสาร เพอให้เกิดความเข้าใจในเรื่องนี้อย่างทั่วถึง
ื่
ทั้งหน่วยงาน
ั
ื่
2. บันทึกประวัติศาสตร์ที่ประทับใจ เพอช่วยให้คนในหน่วยงานเข้าใจความสัมพนธ์ระหว่าง
สิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์การก่อตั้งหน่วยงานบุคคลต้นแบบ กระบวนการหล่อหลอม
การดูแลระหว่างผู้บริหารกับบุคลากร ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับหน่วยงาน