Page 96 - Bright Spot 2563
P. 96
ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
ปัจจัยส าคัญในการท าให้เกิดองค์กรแห่งความสุขภายใต้แนวคิด “กองอาหาร : กองคุณธรรม”
คือ การมุ่งเน้นให้บุคลากรทุกคนในองค์กรมีความสุขในการท างาน ความสุขที่เกิดขึ้นนั้นก่อให้เกิด
การรังสรรค์ทางความคิด งานที่ได้รับมอบหมายมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดความตึงเครียดจากการ
ท างาน และสภาพแวดล้อม ลดความขัดแย้งในองค์กร ความสุขที่เกิดขึ้นจากการท างาเปรียบเสมือน
ั
น้ าหล่อเลี้ยงให้พฤติกรรมคนปรับเปลี่ยนและพฒนาในแนวโน้มที่ดีขึ้น นอกจากนี้องค์กรที่มีความสุข
ควรจะต้องประกอบด้วยหัวใจส าคัญ คือ การท างานเป็นทีม (Teamwork) การมีความสุข (Happy)
มีความคิดสร้างสรรค์ที่น าไปสู่ความก้าวหน้า (Creativity)
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
การท างานด้วยความสุข กับ "Happy Brain"การที่บุคคลมีความคิดยึดติดไม่ยอมปรับเปลี่ยน
วิธีคิดและการกระท า จึงไม่ยอมสร้างนิสัยใหม่หรือฝึกทักษะใหม่ๆ ที่จ าเป็นต่อตนเอง จึงมักเป็น
สาเหตุให้คนเราไม่สามารถด าเนินชีวิตให้มีความสุขได้ "การพฒนาตนเองด้วยความใฝ่รู้"
ั
หรือ "Happy Brain“ จึงเป็นเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนา โดยมีกิจกรรมส าคัญดังนี้
ั
1. การพฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะ ทัศนคติที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน
จนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานไปในทิศทางที่ต้องการ
2. การให้ความรู้เพมเติมเกยวกบทักษะชีวิต เพอให้บุคลากรความสามารถน าทักษะ
ี่
ั
ื่
ิ่
ในกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน การอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยการสร้างเสริม
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา และความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม
ิ่
ั
3. การเพมคุณวุฒิและพฒนาก าลังคนในสายงาน ให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญสอดคล้อง
กับความต้องการขององค์กรหรือองค์กรร่วมมอกับสถาบันการศึกษาในลักษณะทวิภาคี
ื
4. การจัดการความรู้ในองค์กร การพฒนาระบบการสอนงานหรือแบบพสอนน้อง ขับเคลื่อน
ั
ี่
องค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ด้วยการให้บุคลากรพดคุยแลกเปลี่ยนความรู้สิ่งที่น่าสนใจ
ู
ระหว่างกัน ในบรรยากาศที่มีความสนุกสนานเป็นกันเองและมีการบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ
5. การพดคุยกับผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง ช่วยลดช่องว่าง ระหว่างผู้บริหารกับ
ู
ั
ผู้ปฏิบัติงาน โดยการจัดกิจกรรมพบปะพูดคุยที่ใกล้ชิดและเป็นกนเองมากยิ่งขึ้น ซึ่งพนักงานจะได้รับ
ค าแนะน าหรือข้อเสนอแนะจากผู้บริหารโดยตรง เกิดเป็นความเข้าใจที่ชัดเจนตรงกัน
6. การให้รางวัลแก่บุคลากรที่มีผลการปฏิบัติงานดี เป็นทฤษฎีการจูงใจที่ช่วยให้พนักงาน
เกิดการปรับปรุงพฤติกรรม ด้วยการก าหนดรางวัลที่นอกเหนือจากค่าตอบแทนเงิน