Page 4 - Final KM Master Plan 050364
P. 4
ด้านที่ จุดแข็ง (Strengths) โอกาสในการปรับปรุงการด าเนินงาน (OFIs)
- มีการถ่ายทอดแผนงานไปยังผู้เกี่ยวข้องให้ - พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการ
น าไปปฏิบัติในแต่ละสายงาน โดยมีรอบ ด าเนินงาน ที่มุ่งเน้นผลลัพธ์ทั้งในเชิง
ระยะเวลาในการติดตามและประเมินผล ปริมาณและเชิงคุณภาพ
อย่างชัดเจน - ธสน. จัดสรรบุคลากร งบประมาณ และ
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมการ
ด าเนินงานการจัดการความรู้ที่ส าคัญ และ
สอดคล้องกับแผนงานด้านการจัดการ
ความรู้ อย่างไรก็ตาม ธสน. ควรมีการ
ก าหนด และการสื่อสาร หลักเกณฑ์/
แนวทางในการจัดสรรบุคลากร
งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และทรัพยากรอื่นๆ
- ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม
3. บุคลากร - ธสน. สื่อสาร และสร้างความเข้าใจด้านการ - ธสน. ควรสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ
จัดการความรู้แก่บุคลากร ผ่านช่องทาง และแรงจูงใจด้านการจัดการความรู้ให้
ต่างๆ เพอให้บุคลากรได้มีส่วนร่วม รวมถึงยก ครอบคลุมพนักงานทุกระดับ เพื่อให้เกิด
ื่
ย่องชมเชยและสร้างแรงจูงใจให้แก่บุคลากร การมีส่วนร่วมอย่างครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร
ที่มีส่วนร่วมในการจัดการความรู้ - ประเมินและปรับปรุงวิธีการในการสื่อสาร
- เชื่อมโยงการจัดการความรู้กับการ สร้างความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมของ
ประเมินผลงานในระดับผู้บริหาร และ บุคลากร
สมรรถนะหลักขององค์กร (Core - สร้างสภาพแวดล้อมในองค์กรให้เอื้อต่อการ
Competency) เรียนรู้ และความร่วมมือของบุคลากรใน
- ธสน. มีหลักเกณฑ์ และด าเนินการคัดเลือก องค์กร
ทีมงานด้านการจัดการความรู้ รวมถึง - ธสน. ควรส ารวจและประเมินวัฒนธรรม
ก าหนดหน้าที่ และบทบาทของทีมงานใน องค์กร และสภาพแวดล้อมในการท างานที่
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและส่งเสริม/ สนับสนุนการจัดการความรู้ เพื่อน ามาใช้
สนับสนุน ให้บุคลากรทั่วทั้งองค์กรมีส่วน ประโยชน์ในการปรับปรุงและสร้าง
ร่วมในการจัดการความรู้ได้ตามบทบาท สภาพแวดล้อมที่เออต่อการแลกเปลี่ยน
ื้
หน้าที่ และมีรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการ เรียนรู้ และความร่วมมือของบุคลากรทั่วทั้ง
ประเมินการจัดการความรู้ขององค์กร องค์กรและกับองค์กรภายนอก
(Knowledge Management
Assessment: KMS)
3