Page 35 - KM Master Plan 2564
P. 35
3. เกณฑ์การจัดล าดับความส าคัญและการจัดสรรทรัพยากรด้านการจัดการความรู้
แผนวิสาหกิจ 5 ปี (ปี 2564 – 2568) และแผนธุรกิจประจ าปี 2564 ของธสน. มีแผนปฏิบัติการ
ภายใต้แผนดังกล่าวทั้งหมด 47 แผนงาน ดังนั้น ด้วยข้อจ ากัดทางทรัพยากร เช่น งบประมาณ ทรัพยากรมนุษย์
ธสน.จึงจ าเป็นต้องจัดล าดับความส าคัญ หรือความจ าเป็นเร่งด่วนของแผนปฏิบัติการโดยใช้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ าหนัก
จาก 4 ปัจจัย คือ 1) ความสอดคล้องกับรูปแบบธุรกิจและทิศทางขับเคลื่อนองค์กร 2) ความสอดคล้องกับ
ตัวชี้วัดระดับวิสัยทัศน์/องค์กร 3) ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และตัวชี้วัดระดับยุทธศาสตร์
4) ความสอดคล้องกับตัวชี้วัดระดับกลยุทธ์
ิ
จากการพจารณาตามเกณฑ์การให้คะแนนจัดล าดับความส าคัญของแผนปฏิบัติการทั้งหมด พบว่ามี
แผนปฏิบัติการประจ าปี 2564 ที่มีล าดับความส าคัญสูงสุดหรือล าดับความส าคัญสูง รวมทั้งสิ้น 24 แผนงาน
โดยได้รับ (1) การจัดสรรงบประมาณตามการกลั่นกรองของคณะกรรมการงบประมาณ เมื่อวันที่ 26-31
สิงหาคม 2563 (2) การจัดสรรทรัพยากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามการกลั่นกรองของคณะกรรมการ
ก าหนดกลยุทธ์และนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2563 (3) การจัดสรรบุคลากร
ตามการกลั่นกรองของคณะกรรมการนโยบายการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2563
ิ
จากแผนงาน 24 แผนข้างต้นที่ได้รับการพจารณาจัดสรรทรัพยากร แผนงานด้านการจัดการความรู้
ได้แก่ แผนงาน 6.3-4 สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นแผนงานที่ได้รับการจัดสรรทรัพยากร (งบประมาณ
เทคโนโลยี และอตราก าลัง) ฝ่ายพฒนากระบวนการและนวัตกรรม ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบงานด้านการจัดการ
ั
ั
ื่
ความรู้ จึงได้มีการก าหนดหลักเกณฑ์เพอบริหารจัดการทรัพยากรให้ครอบคลุมแผนการปฏิบัติงานที่ส าคัญ
และมีความจ าเป็นสูงสุด โดยน าหลักเกณฑ์ของการจัดสรรทรัพยากรขององค์กรมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับ
แผนงานด้านการจัดการความรู้ ซึ่งก าหนดเกณฑ์ในการพิจารณาจัดสรรทรัพยากรด้านการจัดการความรู้ ดังนี้
1. แผนงานด้านการจัดการความรู้ที่เป็น Quickwin ปี 2564 - 2565 จะได้รับการพจารณา
ิ
ั
จัดสรรทรัพยากรเป็นล าดับแรก ซึ่งแผนพฒนาองค์กรตามระบบประเมินผลใหม่ (Enablers) ระยะยาว
(Roadmap) 5 ปี (ปี 2563 – 2567) และแผนปฏิบัติการประจ าปี 2563 ระบุแผนงานซึ่งต้องด าเนินการในปี
2564 – 2565 (Quickwin) จ านวน 3 แผนงาน คือ
1. การก าหนดบทบาทของผู้บริหารแต่ละระดับให้ชัดเจนในการกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจทั้งที่
เป็นทางการและไม่เป็นทางการให้แก่บุคลากร
การส ารวจและประเมินวัฒนธรรมองค์กรและสภาพแวดล้อมในการท างานที่สนับสนุนการ
จัดการความรู้ และการปรับปรุง สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การแสดงให้เห็นถึงแนวคิด/วิธีการในการก าหนดกระบวนการท างานที่ส าคัญและการประเมิน
ประสิทธิผลของการพัฒนาและการปรับปรุงการปฏิบัติงานประจ าวัน
34