Page 21 - สกว
P. 21

 19
2. เหตุการณหรือปญหา มักจะเกิดขึ้นเมื่อใด (When?)
กลุมควรจัดทําเปนปฏิทินเพื่อใหเห็นชวงเวลาที่เกิด ปญหาหรือเหตุการณตาง ๆ ในชุมชน เชน ปญหาน้ําเสียในชุมชนที่ มักจะสงกลิ่นเหม็นและสรางความรําคาญในชวงฤดูรอน เนื่องจากมี ปริมาณน้ํานอยและน้ําอยูในสภาพนิ่ง จนกลายเปนแหลงเพาะ เชื้อโรค กลุมควรบันทึกเวลาทุกครั้งที่ปญหาดังกลาวเกิดขึ้นจน คลี่คลายหรือบรรเทา แลวจัดทําเปนปฏิทินที่แสดงใหเห็นชวงเวลา ความถี่ของปญหาคุณภาพน้ําของชุมชนภายในระยะเวลา 1 ป โดยใหสมาชิกไดรวมกันแสดงความคิดเห็น
3. เหตุการณหรือปญหานั้นมักจะเกิดขึ้นที่ไหน (Where?)
ชุมชนรวมกันพิจารณาจากขอมูลวาเหตุการณหรือ ปญหาสวนใหญเกิดขึ้นที่พื้นที่หรือบริเวณใด เชน บริเวณที่เกิด ปญหาน้ําทวมซ้ําซาก หรือคลองที่ประสบปญหาสงกลิ่นรบกวนที่อยู ใจกลางชุมชน คลองนี้เชื่อมตอคลองใดบาง ตลอดจนลักษณะทาง กายภาพของแหลงน้ํานั้น โดยใชแผนที่เสนทางนํ้าในชุมชน ประกอบการพิจารณา หรือเขียนเปนภาพ เพื่อใหสมาชิกเครือขาย รับทราบและนําไปประกอบการวิเคราะหเหตุการณหรือปญหานั้น รวมกัน
4. ทําไมจึงเกิดเหตุการณหรือปญหานั้น (Why?)
การรวมกันคนหาสาเหตุวาทําไมจึงเกิดเหตุการณหรือ ปญหานั้นอาจทําได 2 วิธี ไดแก การรวมพูดคุยกลุมยอยอยางไมเปน ทางการ เชน การพูดคุยกับผูนํา ผูรูในชุมชน ปราชญชาวบาน หรือ การคุยกับกลุมเกษตรกร ทสม. อสม. ตลอดจนกลุมอื่น ๆ เพื่อใหได ขอมูลมาวิเคราะห อีกวิธีการหนึ่งคือการพูดคุยอยางเปนทางการ เชน
19



























































































   19   20   21   22   23