Page 30 - การพัฒนาแนวปฏิบัติการพยาบาล การป้องกันการติดเชื้อปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใส่เครื่องช่วยหายใจ WHAPO CNPG โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
P. 30

27
         ประเมินความต้องการในการดูดเสมหะ





           ข้อบ่งชี้ดังนี้

      1. หายใจเสียงดัง ฟังปอดได้ยินเสียงเสมหะ (secretion sound) อัตราการหายใจ
          เพิ่มขึ้น เสียงหายใจออกยาวขึ้น หายใจเร็วขึ้น

      2. มีอาการกระสับกระส่าย

      3. อัตราชีพจรเพิ่มขึ้นหรือลดลง
      4. ความดันโลหิตสูงขึ้นหรือลดลง

      5. O2 sat drop ลง เริ่มมีปลายมือปลายเท้าเย็น



                                    ั
                          การเตรียมตวผู้ป่วยก่อนท าการดูดเสมหะ


        1.แจ้งให้ผป่วยทราบก่อนดูดเสมหะ
                 ู้
        2. ล้างมือให้สะอาด ด้วย 4% Chlorhexidine หรือใช้ Alcohol-based Hand

              Rub
                     ์
        3. สวมอุปกรณป้องกันร่างกาย Mask ถุงมือ
        4. จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30-45 องศา ตะแคงหน้าไปด้านตรงกันข้ามข้างท ี่

        จะดูดเสมหะ
        5. สวม pulse oximeter ที่ปลายนิ้ว ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน

        6. เปิดเครื่องดูดเสมหะ ปรับความดันให้ไม่เกิน 80 mmHg ดูดเสมหะทางปาก
              และล าคอก่อน โดยใช้ท่อดูดน้ าลาย (saliva tube) ต่อเข้ากับเครื่องดูด
              เสมหะ และท าความสะอาดในช่องปากด้วย 0.12% Chlorhexidine ก่อน

              ดูดเสมหะในท่อช่วยหายใจ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33