Page 6 - จดหมายธรรม_ม.ค.61 edit 1
P. 6
หนังสือธรรม
เมื่อวันศุกร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ผศ.ดร.ราชันย์ 3. เอกสารโบราณเป็นเครื่องมือบันทึกและถ่ายทอด
นิลวรรณาภา ต�าแหน่งอาจารย์ภาควิชา ภาษาไทย ภาษา เรื่องราวสมัยอดีตรวมถึงความรู้ภูมิปัญญาต่าง ๆ ในสังคม
ตะวันออกและประธานโครงการอนุรักษ์ใบลานภาคตะวัน เพราะในอดีตไม่มีคอมพิวเตอร์หรือหนังสือ คนในอดีตจึงใช้
ออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้เดินทางมา การบันทึกลงในแผ่นไม้ ใบลาน หรือบนหนังของมนุษย์ เพื่อ
แลกเปลี่ยนความรู้และแบ่งปันประสบการณ์การอนุรักษ์ เก็บรักษาและสืบทอดเรื่องราวมิให้ลบเลือนไป
คัมภีร์ใบลานภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นไฟล์ภาพดิจิทัล 4. เอกสารโบราณถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของ
กับเจ้าหน้าที่โครงการพระไตรปิฎก ฉบับวิชาการ ณ ศูนย์ คนในสังคม เพราะมีการสืบทอดกันมาในแต่ละรุ่น แต่ละยุค
ประสานงานจัดตั้งสถาบันธรรมชัย ต.ไทรน้อย อ.บางบาล สมัย จึงเป็นสิ่งที่มีคุณค่าต่อสังคมในฐานะเป็นเครื่องยืนยัน
จ.พระนครศรีอยุธยา ท�าให้เห็นว่าทั้งสองโครงการมีเป้า อริยธรรม วัฒนธรรม และความเป็นมาของผู้คนในสังคมนั้น
หมายการท�างานที่คล้ายคลึงกัน และหากประสานความร่วม ๆ เพราะฉะนั้นเอกสารโบราณจึงมีความส�าคัญต่อการศึกษา
มือกันทั้งสองฝ่ายจะท�าให้งานอนุรักษ์คัมภีร์ที่เก็บรักษาค�า ค้นคว้าในปัจจุบันที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์สืบทอดอย่างยิ่ง
สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นไปได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ในโอกาสนี้ท่านยังได้ถวายความรู้แก่พระนิสิตในหัวข้อ
เรื่อง “ความส�าคัญของคัมภีร์โบราณ” ซึ่งมีเนื้อหาโดยสังเขป
ดังนี้
1. เอกสารโบราณ หมายถึง จารึกสมุดข่อยและใบ
ลาน ซึ่งเป็นเอกสารส�าคัญในฐานะที่เป็นแหล่งข้อมูลชั้นต้น
ของข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าและวิจัยด้านต่าง ๆ เพราะ
เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลของศาสตร์หลายแขนง เช่น มนุษย์
ศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ที่มีมาแต่โบราณกาล
2. เอกสารโบราณเป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงใช้สอบเทียบ
กับข้อมูลประเภทอื่น ๆ เช่น เมื่อเราศึกษาเรื่องศิลปะ ข้อมูล
จากชิ้นงานศิลปะเองอาจไม่ได้บ่งบอกถึงค�าอธิบาย ช่วงเวลา
หรือรูปแบบได้อย่างละเอียด แต่เราสามารถสืบค้นข้อมูล
เชิงลึกเพิ่มเติมได้ จากการน�าเอกสารโบราณมาสอบเทียบ
หรืออ้างอิง เพราะข้อมูลบางอย่างอาจจะมีการบันทึกอยู่ใน
เอกสารโบราณที่ช่วยให้เราสามารถปะติดปะต่อเรื่องราวได้
ชัดเจนยิ่งขึ้น
6