Page 44 - อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
P. 44
27
สิ่งอ านวยความสะดวกทางการท่องเที่ยว (ม.ป.ป.: ออนไลน์) กล่าวว่า สิ่งอ านวยความสะดวก
ื่
ทางการท่องเที่ยว (Tourism Facilities) เพอรองรับและบริการแก่นักท่องเที่ยวให้ได้รับความ
สะดวกสบายในระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว เป็นองค์ประกอบส าคัญที่แสดงถึงศักยภาพในการ
ื้
ให้บริการท่องเที่ยว และมีผลต่อภาพพจน์ของการท่องเทียวในแหล่งพนที่นั้น ๆ เพราะนอกเหนือจาก
คุณค่าและความงดงามของทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยวแล้ว นักท่องเที่ยวยังต้องการความสะดวกสบาย
ั
และการบริการที่ประทับใจจากสิ่งอานวยความสะดวกทางการท่องเที่ยวทั้งด้านที่พกแรม อาหารและ
สถานบันเทิง การน าเที่ยวและมัคคุเทศก์ รวมทั้งการจ าหน่ายสินค้าที่ระลึก ซึ่งสิ่งอานวยความสะดวก
ทางการท่องเที่ยวเหล่านี้ สามารถท ารายได้เป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการท่องเที่ยว ดังนี้
ตารางที่ 1 รายได้รวมจากภาคการท่องเที่ยวในปี พ.ศ. 2560 (ส านักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยว
ี
และกฬา, 2560: ออนไลน์)
อย่างไรก็ตาม กฤช เตชะประเสริฐ (2556: 20) ได้อธิบายความหมายของสิ่งอานวยความ
สะดวก ไว้ว่า สิ่งอานวยความสะดวก หมายถึง สิ่งบริการขั้นพนฐานต่าง ๆ ที่จ าเป็นต่อการท่องเที่ยว
ื้
และระบบสาธารณูปการซึ่งมีอยู่ในแหล่งท่องเที่ยวนั้น ๆ ที่นักท่องเที่ยวสามารถจะใช้ได้อย่าง
ี
สะดวกสบายมากน้อยเพยงใด เช่น ที่พักแรม ร้านอาหารและเครื่องดื่ม สถานเริงรมย์ สถานบริการอน
ื่
ๆ ระบบไฟฟา ประปา โทรศัพท์ สถานรักษาพยาบาล สถานีต ารวจ หรือระบบรักษาความปลอดภัย
้
ิ
เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะพจารณาทั้งปริมาณและคุณภาพควบคู่กันไป และถ้าหากในบริเวณแหล่ง
ท่องเที่ยวนั้นไม่มีสิ่งอ านวยความสะดวกอย่างครบถ้วนก็จะพิจารณาถึงความสะดวกและความใกล้ไกล
ี
ที่จะไปอาศัยใช้บริการสิ่งอานวยความสะดวกจากแหล่งชุมชนข้างเคียงได้ยากง่ายเพยงใด ดังนั้น ตัว
แปรที่ใช้ในการประเมินสิ่งอานวยความสะดวกอาจพจารณาได้จากระบบสาธารณูปโภค/
ิ
ั
สาธารณูปการ การให้บริการบ้านพก สถานบริการต่าง ๆ ระบบสื่อ ความหมายและระบบการจัดการ
ซึ่งสิ่งอ านวยความสะดวก ณ แหล่งท่องเที่ยว (Destination Amenities) เช่น ร้านอาหาร ร้านค้าต่าง
ๆ ได้แก่ ร้านขายของ บริษัทบริการการท่องเที่ยว ร้านของที่ระลึก เป็นต้น อีกทั้งการบริการอื่น ๆ เช่น