Page 16 - อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
P. 16

8







                                     ิ
                       แล้วน ากลับไปตีพมพเผยแพร่ที่ตะวันตก ก่อให้เกิดการเดินทางเข้ามายังเอเชียและอยุธยามากขึ้น ใน
                                        ์
                       ฐานะที่อยุธยาเป็นดินแดนของสินค้าของป่า เครื่องเทศ ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถสร้างก าไรให้
                       มหาศาลแก่พอค้าชาวตะวันตก กล่าวได้ว่า อาณาจักรอยุธยารุ่งเรืองมากทั้งทางด้านศิลปวิทยาการ
                                  ่
                       วัฒนธรรม ประเพณี บ้านเมืองร่ ารวย ในสมัยพระนารายณ์มหาราชมีการแลกเปลี่ยนคณะทูตระหว่าง

                       อยุธยาและชาติต่าง ๆ หลายครั้ง (ปรรณพชร์ ฐิติธรรมเวทย์, 2560: 10) วรรณคดีที่เป็นหลักฐาน
                                                           ั
                       ส าคัญที่กล่าวถึงการเดินทางไปยังต่างแดนที่มีเชื่อเสียงคือ นิราศฝรั่งเศส ของโกษาปานในสมัยสมเด็จ
                       พระนารายณ์ ภายหลังสมัยสมเด็จพระนารายณ์การค้าขายติดต่อกับชาติตะวันตกลดน้อยลง จึงหันไป

                                                                                       ุ
                                                     ั
                       ค้าขายกับจีนมากขึ้น และพยายามพฒนาบ้านเมืองให้เป็นศูนย์กลางของพระพทธศาสนา โดยเฉพาะ
                       อย่างยิ่ง สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศมีการส่งสมณทูตไปเผยแผ่ศาสนาโดยทั่วไป ที่ส าคัญคือ เคย
                       มีการส่งคณะสมณทูตไปยังลังกาทวีป และในลังกาเรียกนิกายสงฆ์ของตนว่า สยามวงศ์อกด้วย
                                                                                                    ี
                       (วิวัฒนาการการท่องเที่ยวของไทย, 2560: ออนไลน์)
                                    1.1.7.3  วิวัฒนาการการท่องเที่ยวของไทยในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ เป็นความ

                       พยายามของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีที่จะฟนฟความเป็นอยุธยา
                                                                                        ื้
                                                                                           ู
                       ขึ้นมาใหม่อกครั้ง ซึ่งจะมีโครงสร้างของบ้านเมือง วัฒนธรรมประเพณีต่าง ๆ จะคล้ายกับในสมัย
                                 ี
                                    ั
                       อยุธยา ปรรณพชร์ ฐิติธรรมเวทย์ (2560: 11) อธิบายว่า ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในสมัย
                       รัชกาลที่ 2 ทรงท านุบ ารุงทางด้านศิลปวัฒนธรรมและพฒนาด้านการค้าระหว่างประเทศ สมัยรัชกาล
                                                                    ั
                                                                     ี
                       ที่ 3 บ้านเมืองเปิดท าการค้าขายกับต่างชาติมากขึ้นอกครั้งหนึ่งคล้าย ๆ กับสมัยของสมเด็จพระ
                       นารายณ์ สมัยรัชกาลที่ 4 ทรงพยายามท าให้บ้านเมืองมีความทันสมัยตามแบบตะวันตก เนื่องจากมี

                       ชาวตะวันตกเข้ามาพานักอาศัยในกรุงสยามเป็นจ านวนมาก เห็นได้ว่ามีการสร้างที่พก ร้านอาหารตาม
                                                                                           ั

                       แบบตะวันตกเกิดขึ้นหลายแห่ง อย่างไรก็ตาม การท่องเที่ยวของประเทศไทย (2559: ออนไลน์)
                       อธิบายว่า ก่อนการพัฒนาทางบกในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นเป็นการท่องเที่ยวหรือการเดินทางของขุนนาง
                       และพอค้ามากกว่าสามัญชน ทั้งนี้ เพราะการเดินทางเต็มไปด้วยความยากล าบาก ขาดระบบการ
                            ่
                       คมนาคมที่ดี การคมนาคมทางบกจึงใช้เกวียน ช้าง ม้า และวัวเป็นพาหนะในการขนส่ง ส าหรับทางน้ า

                       ใช้เรือติดต่อระหว่างแม่น้ าล าคลองต่าง ๆ ภายในประเทศ และส าหรับการติดต่อกับต่างประเทศก็ใช้
                       เรือใบหรือเรือส าเภาเป็นพาหนะที่ส าคัญในการเดินทาง หลังจากที่ประเทศไทยได้เปิดการค้าขายกับ

                       ต่างประเทศอย่างเสรี ในปีพ.ศ. 2398 ได้มีการปรับปรุงการค้าขายกับต่างประเทศให้ทันสมัย และ

                       อานวยความสะดวกให้แก่พอค้าต่างประเทศมากยิ่งขึ้น ท าให้การค้าขายเจริญรุ่งเรืองและมีการ
                                               ่

                       ก่อสร้างทางรถไฟจากกรุงเทพฯ เชื่อมติดต่อกับภูมิภาคต่าง ๆ และก่อสร้างทางเกวียนเชื่อมระหว่าง
                       เมืองและสถานีรถไฟทางเกวียนดังกล่าว แล้วได้ขยายเป็นถนนรถยนต์ในเวลาต่อมา หลังจากสร้างทาง

                       รถไฟ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระก าแพงเพชรอัครโยธิน ผู้บัญชาการรถไฟในขณะนั้น ได้จัดตั้งแผนก
                       โฆษณาของการรถไฟขึ้น ในปีพ.ศ. 2467 เพื่อท าหน้าที่ส่งเสริมทางด้านการท่องเที่ยวและอ านวยความ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21