Page 33 - อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
P. 33
25
ป้ายต้อนรับนักท่องเที่ยว เช่น ป้าย “Aloha” ซึ่งเป็นภาษาของชาวฮาวาย แปลว่า “สวัสดี” หรือการ
จัดบริการน าเที่ยวที่มีหลายภาษา เช่น รถน าเที่ยวในกรุงลอนดอน มีการแนะน าแหล่งท่องเที่ยวหลาย
ภาษาส าหรับนักท่องเที่ยวที่เป็นตลาดหลัก ไม่ว่าจะเป็นภาษาอิตาเลียน ฝรั่งเศส เยอรมัน หรือญี่ปุ่น
ั
ส าหรับประเทศไทยก็ประสบความส าเร็จในการใช้ “อธยาศัยไมตรีและการต้อนรับ
ี
ของผู้คนในท้องถิ่น” ซึ่งเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวหลักที่มเอกลักษณ์เฉพาะไม่ว่าจะเป็น “ยิ้มสยาม”
ื้
หรือ “ความเอออาทรในการช่วยเหลือนักท่องเที่ยว” ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศได้
เป็นจ านวนมาก ส่งผลให้นักท่องเที่ยวที่เคยมาประเทศไทยแล้วกลับมาเยือนซ้ าอีกหลายครั้ง
3.2.2.3 ทรัพยากรการท่องเที่ยวด้านบันเทิงและความเพลิดเพลิน ทรัพยากรการ
ท่องเที่ยวประเภทนี้ หมายถึง สถานที่หรือกิจกรรมที่สร้างความบันเทิงและความเพลิดเพลินให้แก่
นักท่องเที่ยวทุกประเภท อาทิ สวนสาธารณะ สวนสนุก แหล่งบันเทิงยามค่ าคืน โรงละคร โรง
ภาพยนตร์ เป็นต้น สถานที่เหล่านี้ส่วนใหญ่ต้องใช้เงินทุนในการสร้างสูง โดยส่วนใหญ่เป็นการลงทุน
ี
ของภาคเอกชน มีเพยงส่วนน้อย เช่น สวนสาธารณะ สวนสัตว์ ที่เป็นการลงทุนของภาครัฐ
ตัวอย่าง ของทรัพยากรการท่องเที่ยวประเภทนี้ เช่น ดีสนีย์เวิล์ด สวนสยาม ซาฟารีเวิล์ด สวนสัตว์เปิด
เขาเขียว สวนสัตว์ดุสิต คลับ ดิสโก้เธค การแสดงโชว์ทิฟฟานี ฯลฯ
ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่นี้มีการเสื่อมสลายได้ตาม
้
กาลเวลา สภาพดินฟาอากาศ การท าลายของมนุษย์ และการขาดการดูแลเอาใจใส่ จึงต้องการการ
อนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนา ตลอดจนการดูแลรักษาจากหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะส่งผลให้การ
ท่องเที่ยวเจริญก้าวหน้าต่อไป (ทรัพยากรท่องเที่ยว, ม.ป.ป.: ออนไลน์)
3.3 การคมนาคม
ภาวิณี น้ าพระทัย (2560: ออนไลน์) กล่าวว่า “การคมนาคมขนส่ง” จัดว่าเป็นปัจจัยพื้นฐาน
ส าคัญที่ช่วยให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวไปได้อย่างกว้างขวาง และถือได้ว่าเป็นธุรกิจหนึ่งที่ช่วย
่
ี
อ านวยความสะดวกให้แกนักทองเที่ยวในการเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอกที่หนึ่งทั้งทางบก ทางน้ า และ
่
ทางอากาศ นอกจากนี้อาจกล่าวได้ว่า การคมนาคมขนส่งเป็นธุรกิจที่มีผลกระทบโดยตรงต่อ
ุ
อตสาหกรรมการท่องเที่ยว เพราะการเดินทางจะเกิดขึ้นไม่ได้ หากปราศจากการเดินทางขนส่ง
นักท่องเที่ยวไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ