Page 5 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 5

คําานําา
สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นปัญหาท่ี ดาํา เนนิ มานานนบั ทศวรรษ ซงึ่ ครา่ ชวี ติ ประชาชนเปน็ จาํา นวนมาก อกี ทง้ั ยงั มผี ลเชงิ ลบ ในด้านต่างๆ ไม่ว่าเป็นการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจหรือการศึกษา รวมทั้งความ สัมพันธ์ระหว่างประชาชนในระดับชุมชน เป็นต้น แม้ว่าจะมีความเข้าใจอย่างกว้าง ขวางว่าปัญหาในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นปัญหาภายในประเทศ แต่ในความ เปน็ จรงิ ความขดั แยง้ ภายในไดร้ บั ความสนใจจากตวั แสดงภายนอก (External Actors) เนื่องจากปัญหาภายในล้วนมีโอกาสท่ีจะส่งผลกระทบในวงกว้างจนอาจกลายเป็น ปญั หาขา้ มชาตไิ ด้ ดว้ ยเหตนุ ้ี ประชาคมระหวา่ งประเทศจงึ เลง็ เหน็ ความสาํา คญั ในสรา้ ง หลักการและมาตรการเพื่อป้องกันผลกระทบจากความขัดแย้งทางอัตลักษณ์และ ชาตพิ นั ธท์ุ งั้ ทเ่ี ปน็ ภยั ตอ่ ความมนั่ คงของมนษุ ย์ (Human Security) และตอ่ ความมนั่ คง ระหว่างประเทศ (International Security) หลักการมาตรการเหล่าน้ี ได้สะท้อนให้ เห็นอย่างเป็นรูปธรรมในโครงสร้างระหว่างประเทศอันหมายรวมถึงบรรทัดฐาน (Norms)กฎหมาย(Laws)และสถาบนั (Institutions)อาทิกฎหมายมนษุ ยธรรม ระหว่างประเทศ (International Humanitarian Law, IHL) และหลักการความ รับผิดชอบในการปกป้อง (Responsibility to Protect, R2P) ซ่ึงล้วนมีส่วนสําาคัญใน การกําาหนดพฤติกรรมของตัวแสดงทุกประเภทแม้ว่าจะเป็นตัวแสดงที่เป็นรัฐ (State Actors) และตัวแสดงท่ีไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors) ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับความ ขัดแย้งไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม
ทงั้ น้ี บรรทดั ฐาน กฎหมาย และสถาบนั ระหวา่ งประเทศเหลา่ นไี้ ดส้ รา้ งความ กงั วลใหร้ ฐั ตา่ งๆ ถงึ โอกาสทตี่ วั แสดงภายนอกจะเขา้ มาแทรกแซงกจิ การภายในของรฐั ที่สําาคัญ ความกังวลดังกล่าวได้กลายเป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมมาตรการระยะยาว (Long Term Measures) ในการแก้ไขความขัดแย้ง อาทิ การพูดคุยและมาตรการ ในการสรา้งความเชอ่ืมน่ั (TalksandConfidenceBuildingMeasures)การลดการ เกิดเหตุรุนแรงและ/หรือ การเจรจาเพื่อสันติภาพ (Peace Negotiations) ตลอดจน
(3)































































































   3   4   5   6   7