Page 6 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 6

การกระจายอําานาจในรูปแบบต่างๆ (Decentralisation) อันเป็นแนวทางสากลท่ีมี ความสําาคัญต่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในรูปแบบต่างๆ
งานศกึ ษานี้ จงึ เลง็ เหน็ ความสาํา คญั ของการศกึ ษาโครงสรา้ งระหวา่ งประเทศ ท่ีจะเป็นการเอ้ือและจําากัดการกระทําาใดๆ ของตัวแสดงท่ีมีเจตนาในการส่งเสริมการ ยกระดับปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปสู่สากลหรือการแทรกแซงอําานาจอธิปไตย ของประเทศไทย คําาถามหลักของการศึกษาน้ี ได้แก่
1. สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เข้าข่ายเป็นการขัดแย้งทาง อาวุธท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศ (Non-international Armed Conflicts, NIACs) ตามคําานิยามในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศหรือไม่ และการใช้คําาอื่นๆ เรียกแทน “สถานการณ์” และ “กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ” มีผลในการส่งเสริมการยก ระดับปัญหาไปสู่สากลและการแทรกแซงอําานาจอธิปไตยหรือไม่
2. การเปิดโอกาสให้ฝ่ายที่สาม (Third Party) ได้เข้ามาสนับสนุนข้ันตอน ต่างๆ ของกระบวนการสันติภาพจะมีผลก่อให้เกิดการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและ การแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐหรือไม่
3. โครงสร้างระหว่างประเทศมีการสร้างเง่ือนไขหรือบังคับให้รัฐที่ประสบ กับความขัดแย้งภายในต้องมีการกระจายอําานาจปกครองหรือไม่ การจัดสรรและการ กระจายอําานาจการปกครองในฐานะเป็นเคร่ืองมือในการบรรเทาสถานการณ์ความ ไม่สงบจะมีผลทําาให้เกิดการแบ่งแยกดินแดนหรือไม่
คณะจัดทําาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าการตอบโจทย์ข้างต้นจะสร้างความกระจ่าง เกยี่ วกบั โอกาสทตี่ วั แสดงภายนอกจะเขา้ มาแทรกแซงในปญั หาในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดน ภาคใต้ เพื่อว่าการศึกษานี้จะเป็นข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์สําาหรับผู้กําาหนดนโยบายและ นักวิชาการในการหาวิธีเพื่อแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่จังหวัดภาคใต้ต่อไป
สุดท้าย คณะจัดทําาขอขอบคุณ สําานักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติ (สมช.) ท่ีให้ทุนสนับสนุนงานวิจัยน้ี
ชนินท์ทิรา ณ ถลาง และ จารุพล เรืองสุวรรณ
(4)


























































































   4   5   6   7   8