Page 148 - นมธ. ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม 18
P. 148

                 การผลักดันและสนับสนุน ต่อภาคธุรกิจ SME จาก สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFI)
การให้สินเชื่อตามแนวทาง ESG
ESG เปน็ แนวคดิ การดา เนนิ ธรุ กจิ อยา่ งยงั่ ยนื โดยใหค้ วามสา คญั กบั การประกอบธรุ กจิ ทคี่ า นงึ ถงึ ความ รับผิดชอบ 3 ด้าน
• Environment:สิ่งแวดล้อม
• Social:สังคม
• Governance:ธรรมาภิบาล
ปัจจุบัน มีสินเช่ือที่ธนาคารพึงสนับสนุน จากธนาคารภาครัฐ (ธนาคารออมสิน + SME D Bank)
ตามแนวทาง BCG Economy ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของแนวคิดการดาเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน นอกจากนั้นแล้วมีการ ระดมทุนของภาคธุรกิจขนาดใหญ่ ในลักษณะของ Sustainable Finance ซึ่งคานึงถึงความรับผิดชอบ 3 ด้าน คือ ESG เช่นกัน
สินเชื่อตามแนวทาง ESG – BCG Economy : BCG Economy เป็น Model พัฒนาเศรษฐกิจ รูปแบบใหม่ ที่ช่วยสร้างสมดุลระหว่างการเติบโตทางเศรษฐกิจกับความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาติ โดยผ่าน การบูรณาการการพัฒนาเศรษฐกิจ 3 มิติไปพร้อม ๆ กัน
• Bioeconomy สินเช่ือที่ให้แก่ธุรกิจส่งเสริมเศรษฐกิจชีวภาพ : ธุรกิจที่เน้นการเพ่ิมมูลค่าให้กับ สินค้า โดยผ่านการนาความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ หรือผลผลิตทางการเกษตร • Circular Economy สนิ เชอื่ ทใ่ี หแ้ กธ่ รุ กจิ ทส่ี ง่ เสรมิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น : ธรุ กจิ ทเี่ นน้ การลดปรมิ าณ
ของเสียให้น้อยลงหรือเท่ากับศูนย์ (Zero Waste) โดยผ่านการนามาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและคุ้มค่าท่ีสุด ด้วยการปรับปรุงการผลิต ตลอดจนการนาวัสดุกลับมาใช้ซ้า (Reuse) และแปรสภาพกลับมาใช้ใหม่ (Recycle)
• Green Economy สินเช่ือท่ีให้แก่ธุรกิจท่ีส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขียว : ธุรกิจที่เน้นการแก้ไขปัญหา มลพิษเพ่ือลดผลกระทบต่อโลกอย่างยั่งยืน เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างสมดุล
• โดยปัจจุบันมีภาคธุรกิจมุ่งหวังตามBCGEconomyดังต่อไปน้ี
 146





















































































   146   147   148   149   150