Page 149 - นมธ. ธรรมศาสตร์เพื่อสังคม 18
P. 149

                 นอกจากน้ันแล้วมีการระดมทุนของภาคธุรกิจขนาดใหญ่ ในลักษณะของ Sustainable Finance ซึ่งคานึงถึงความรับผิดชอบ 3 ด้านคือ ESG เช่นกัน มีการออกตราสารหน้ีเพื่อส่ิงแวดล้อมและสังคมท่ีย่ังยืน หรือ ท่ีเรียกว่า ESG (environmental, social and governance) bond ซึ่งในประเทศไทยก็เห็นการเติบโตอย่าง ชดั เจน มกี ารออกจากทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชน นกั ลงทนุ ทงั้ ประเภทสถาบนั และบคุ คลธรรมดา กใ็ หก้ ารตอบรบั อย่างดีเช่นกัน โดย ESG Bond สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคือ
1) ตราสารหนี้เพื่อสิ่งแวดล้อม (Green bond) หมายถึง ตราสารหนี้ท่ีผู้ออกตราสารต้องการระดม ทนุ เพอื่ นา เงนิ ไปลงทนุ หรอื ชา ระคนื หนส้ี นิ เดมิ (Re-financing) ในโครงการทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การอนรุ กั ษส์ งิ่ แวดลอ้ ม เช่น โครงการพลังงานหมุนเวียน และสร้างอาคารเพื่อส่ิงแวดล้อม
2) ตราสารหนี้เพ่ือสังคม (Social bond) จะนาเงินที่ระดมทุนได้ไปใช้ในโครงการพัฒนาสังคม อาทิ โครงการเพ่ือลดปัญหาการว่างงาน และส่งเสริมความเท่าเทียมในสังคม และ
3) ตราสารหน้ีเพื่อความยั่งยืน (Sustainability bond) คือส่วนผสมระหว่าง Green bond และ Social bond ซึ่งมุ่งหวังทั้งการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและพัฒนาสังคมควบคู่กันไป
• โครงการท่ีจะเข้าข่าย “ESG Bond” ต้องสอดรับกับหลักการ นิยาม และมาตรฐาน ที่ได้รับ การยอมรับจากหน่วยงานกากับ เช่น มาตรฐานของ The International Capital Market Association (ICMA) มาตรฐานของ Climate Bond Initiative (CBI) และมาตรฐานของ ASEAN Capital Markets Forum นอกจากนั้น ผู้ออกตราสารต้องอาศัยหน่วยงานภายนอกเพื่อทาการสอบทาน (External Review) เพ่ือให้ สอดรับกับมาตรฐานเหล่าน้ีด้วย
147





























































































   147   148   149   150   151