Page 3 - นิราศ อีบุ๊ก
P. 3
3
วรรณคดีประเภทนิราศ
ลักษณะของนิราศ
นิราศเป็นบทประพันธ์ที่แต่งขึ้นเพื่อ.................................................................
.................................................โดยมากมักมี...................................จึงมีลักษณะที่เป็น
........................................................และกล่าวถึงสิ่งที่พบเห็นไว้ดวย
้
นิราศมักแต่งด้วยค าประพันธ์ประเภท.....................................ที่แต่งเป็นโคลง เช่น นิราศหริภุญชัย
นิราศนรินทร์ ที่แต่งเป็นกลอน เช่น นิราศเมืองแกลง นิราศภูเขาทอง กลอนที่ใช้แต่งเป็นนิราศซึ่งเรียกกันว่า
....................... มีตัวอย่างดังนี้
วรรคสดับ เดือนสิบเอ็ดเสร็จธุระพระวสา วรรครับ
วรรครอง รับกฐินภิญโญโมทนา ชุลีลาลงเรือเหลืออาลัย วรรคส่ง
................................. ....................................
จงทราบความตามจริงทุกสิ่งนั้น อย่านึกนินทาแถลงแหนงไฉน
นักเลงกลอนนอนเปล่าก็เศร้าใจ จึงร่ าไรเรื่องร้างเล่นบ้างเอย
จากค าประพันธ์ข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า กลอนนิราศ เริ่มบทแรกด้วย.............................. และจบ
ด้วยค าว่า...................................... ส่วนความยาวไม่จ ากัดจ านวน
ฉันทลักษณ์กลอนนิราศ
ฉันลักษณ์กลอนนิราศ ลักษณะคล้ายกับ........................... หรือกลอนแปด แต่เริ่มต้นบทแรกด้วย
วรรครับ ส่วนบทอื่นนั้นมีลักษณะเดียวกันกับกลอนสุภาพทุกประการ การสัมผัสกลอนนิราศมีลักษณะดังนี้
การสัมผัส
๑. ค าที่มีเสียงสระเดียวกัน เช่น นา - กา มี - ดี มือ – คือ ใน - สัย*
โต - ....... เสีย - ........ แข - ......... ........ - ........ ........ - .......
๒. ค าที่มีเสียงสระและเสียงตัวสะกดเดียวกัน เช่น วาง - จ้าง เมือง - เคือง เปรต – เกษตร
มิตร - พิด สากล - ปวงชน สมบูรณ์ - อาดูร เสด็จ - เคล็ด
บ้าง - ......... ชีวิต - ............ ............ - .......... ......... - ..........
สัมผัสนอก คือ การสัมผัสระหว่างวรรค เช่น ค าสุดท้ายของวรรคสดับสัมผัสกับค าที่สามของวรรครับ
สัมผัสใน คือ การสัมผัสภายในวรรค เช่น ค าที่สามและค าที่สี่ของวรรครับสัมผัสกัน
คําชี้แจง ให้นักเรียนโยงฉันลักษณ์กลอนนิราศให้ถูกต้อง
บทที่ ๑
บทที่ ๒
(บทสุดท้าย) เอย